แบบจำลองแลมบ์ดา-ซีดีเอ็ม
แบบจำลองแลมบ์ดา-ซีดีเอ็ม

แบบจำลองแลมบ์ดา-ซีดีเอ็ม

แลมบ์ดา-ซีดีเอ็ม (อังกฤษ: Lambda-CDM) ย่อมาจาก Lambda-Cold Dark Matter หรือ แลมบ์ดา-สสารมืดเย็น มักถูกอ้างถึงในฐานะเป็น แบบจำลองมาตรฐาน ของการศึกษาจักรวาลวิทยาตามทฤษฎีบิกแบง เป็นความพยายามอธิบายถึงการมีอยู่และโครงสร้างของรังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาล โครงสร้างขนาดใหญ่ของเอกภพ การกระจายตัวขององค์ประกอบแสง และการที่เอกภพขยายตัวออกด้วยอัตราเร่ง ซึ่งสังเกตได้จากแสงจากดาราจักรที่อยู่ห่างไกลหรือซูเปอร์โนวา เป็นแบบจำลองที่เรียบง่ายที่สุดที่เห็นพ้องกันว่าสอดคล้องกับปรากฏการณ์ที่สังเกตได้

ใกล้เคียง

แบบจำลองโอเอสไอ แบบจำลองมาตรฐาน แบบจำลองอะตอมของทอมสัน แบบจำลองคือเบลอร์-รอสส์ แบบจำลองแลมบ์ดา-ซีดีเอ็ม แบบจำลองพื้นฐานของกายวิภาคศาสตร์ แบบจำลองวงโคจรดาวเคราะห์ แบบจำลองรัทเทอร์ฟอร์ด แบบจำลองการสะท้อนแบบฟ็อง แบบจำลอง