การป้องกันและการรักษา ของ โรคพยาธิแส้ม้า

การป้องกันพยาธิทำได้โดยการปรุงอาหารให้ถูกสุขลักษณะ และการล้างมือก่อนทำอาหาร[5] มาตรการป้องกันอื่น ๆ คือการพัฒนาสุขอนามัย เช่น การใช้ส้วมที่สะอาดและเหมาะสมสำหรับการใช้งาน[5] และการดื่มน้ำสะอาด[6] ในภูมิภาคของโลกที่พบการติดเชื้อได้ทั่วไป มักทำการรักษากลุ่มคนทั้งหมดในคราวเดียวกันและสม่ำเสมอเป็นประจำ[7] การรักษาคือการให้ยาอัลเบนดาโซล (albendazole), มีเบนดาโซล (mebendazole) หรือ ไอเวอมิคทิน (ivermectin) เป็นเวลาสามวัน[8] หลังจากการรักษาผู้ป่วยมักได้รับเชื้อพยาธิอีก[9]

ใกล้เคียง

โรคพยาธิกีเนีย โรคพยาธิแส้ม้า โรคพยาธิไส้เดือน โรคพยาธิใบไม้ในเลือด โรคพยาธิตาบอด โรคพยาธิหอยโข่ง โรงพยาบาลในประเทศไทย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า

แหล่งที่มา

WikiPedia: โรคพยาธิแส้ม้า http://books.google.ca/books?id=l56-WMdyqzcC&pg=PA... http://www.diseasesdatabase.com/ddb31146.htm http://www.icd9data.com/getICD9Code.ashx?icd9=127.... http://www.cdc.gov/globalhealth/ntd/diseases/index... http://www.cdc.gov/parasites/whipworm/ http://www.cdc.gov/parasites/whipworm/diagnosis.ht... http://www.cdc.gov/parasites/whipworm/health_profe... http://www.cdc.gov/parasites/whipworm/prevent.html http://www.ncbi.nlm.nih.gov/books/NBK11748/ //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3265535