กปาลิกะ
กปาลิกะ

กปาลิกะ

กปาลิกะเป็นอดีตธรรมเนียมตันตระแต่ไม่ตามปุราณะของลัทธิไศวะ ที่มีต้นกำเนิดในอินเดียยุคกลางระหว่างศตวรรษที่ 7-8[2][3][4][5][6] คำนี้มาจากคำสันสกฤต กปาละ ตรงกับคำว่า กบาล แปลว่า "กะโหลก" ดังนั้น กปาลิกะ แปลว่า "ผู้ถือกะโหลก"[2][3][4][5][6]กปาลิกะหมายถึงนักพรตลัทธิย่อยของลัทธิไศวะที่ซึ่งโดยธรรมเนียมแล้วเป็นผู้ถือตรีศูลที่มีกะโหลกปักอยู่ข้างบน (ขัฏวางคะ) และใช้กะโหลกมนุษย์เป็นบาตรขอทาน[2][3][4][5][6] บูชาพระไภรวะ ซึ่งเป็นปางดุร้ายของพระศิวะ ผ่านการเลียนแบบพฤติกรรมและลักษณะของพระไภรวะในฐานะการปฏิบัติบูชา[2][2][3][4][5] ใช้เถ้าถ่านจากที่เผาศพป้ายตามร่างกาย,[2][3][4][5][6] ไว้ผมยาวและพันกันยุ่ง[2][3][4][5][6] รวมถึงมีส่วนในพิธีกรรมที่ไม่เป็นที่ยอมตับของสังคม เช่น มีเพศสสัมพันธ์กับสตรีในวรรณะล่าง, บูชายัญมนุษย์, ทานทั้งเนื้อสัตว์และสุรา และถวายบูชาด้วยน้ำกาม[2][3][4][5][6]

แหล่งที่มา

WikiPedia: กปาลิกะ //lccn.loc.gov/2007007627 //doi.org/10.1525%2F9780520324947-003 //doi.org/10.1525%2Fcalifornia%2F9780520230620.003... //www.jstor.org/stable/10.1525/j.ctt1pp4mm.9 //www.worldcat.org/oclc/1224279234 https://books.google.com/books?id=-3804Ud9-4IC&q=s... https://books.google.com/books?id=5kl0DYIjUPgC&pg=... https://books.google.com/books?id=SGFNDwAAQBAJ&pg=... https://books.google.com/books?id=SKBxa-MNqA8C https://books.google.com/books?id=qRp4EAAAQBAJ&pg=...