การสูญเสียกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ ของ กระสวยอวกาศชาเลนเจอร์

กระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ในอวกาศ

ในภารกิจครั้งที่ 10 (เที่ยวบินที่ STS-51-L) ของยานชาเลนเจอร์ ซึ่งเป็นวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2529 หลังจากปล่อยยานขึ้นไปเพียงนาทีเศษ ยานชาเลนเจอร์ได้ประสบอุบัติเหตุจากการระเบิด เนื่องจากยางรูปวงแหวนที่ใช้ปิดกั้นแก๊สระหว่างรอยต่อในจรวดบูสเตอร์(Solid Rocket Booster : SRB)ตัวขวาได้มีการเสียหายมาจากการยิงจรวดมาในภารกิจก่อนหน้านั้นหลายครั้งมาแล้ว และยังมีอีกปัจจัยนึงคือในวันที่ปล่อยกระสวยครั้งนี้ สภาพอากาศที่เย็นจัดได้ก่อให้เกิดน้ำแข็งเกาะตามฐานปล่อยจรวดและยาน รวมทั้งจรวดบูสเตอร์ด้วย ทำให้ยางไม่ยืดหยุ่น เมื่อได้ปล่อยยาน แก็สความร้อนสูงได้รั่วออกมาและรวมตัวกับเปลวไฟที่ไอพ่นของบูสเตอร์ จึงทำให้เกิดไฟลุกไหม้จรวด และเมื่อถังเชื้อเพลิงสีส้ม(Fule Tank : ET)ได้ถูกความร้อนจากจรวดตัวขวา ทำให้เกิดการระเบิดขึ้นเป็นลูกไฟขนาดยักษ์บนฟ้า ยานได้แตกเป็นส่วน ๆ จนตกสู่ทะเล ซึ่งในขณะที่ยานระเบิดนั้น ลูกเรือในยานยังไม่เสียชีวิตจนกระทั่งห้องโดยสารตกสู่ทะเล

คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ:
Space Shuttle Challenger

กระสวยอวกาศ
กระสวยอวกาศของอเมริกา   กระสวยอวกาศของโซเวียต
  • OK-GLI (Buran Analog BST-02, aerotester)
  • บูราน (Shuttle 1.01, ถูกทำลาย พ.ศ. 2545)
  • Ptichka (Shuttle 1.02, เสร็จแล้ว 95–97%)
  • Baikal (Shuttle 2.01, ยังไม่เสร็จ)
  • 2.02 (partially dismantled)
  • 2.03 (dismantled)
หัวข้อหลัก
ส่วนประกอบ
ยานโครจร
ฐานปล่อยยาน
ฐานลงจอดยาน
การพัฒนา
ทดสอบ
ห้วข้อเกี่ยวข้อง
บทความเกี่ยวกับเทคโนโลยี หรือ สิ่งประดิษฐ์นี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล

ใกล้เคียง

กระสวยอวกาศ กระสวยแซงเวลา กระสวยอวกาศแอตแลนติส กระสวยอวกาศโคลัมเบีย กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรี กระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ กระสวยอวกาศเอนเทอร์ไพรซ์ กระสวย กระสวยกล้ามเนื้อ