หมายเหตุและอ้างอิง ของ กลีบท้ายทอย

  1. "SparkNotes: Brain Anatomy: Parietal and Occipital Lobes". Archived from the original on 2007-12-31. สืบค้นเมื่อ 2008-02-27.
  2. Schacter, D. L., Gilbert, D. L. & Wegner, D. M. (2009). Psychology. (2nd ed.). New Work (NY): Worth Publishers.
  3. ตาบอดครึ่งซีก (hemianopsia) เป็นการสูญเสียลานสายตาที่เป็นไปตามแนวกลางด้านตั้ง (vertical midline) ในตา โดยปกติเกิดขึ้นที่ทั้งสองตา แต่มีบางกรณีเกิดที่ตาข้างเดียว กล่าวอีกอย่างหนึ่ง ก็คือ มีการสูญเสียการเห็นส่วนของลานสายตาด้านซ้ายหรือด้านขวา ที่มีเหตุมาจากตาทั้งสองข้างหรือข้างเดียว ส่วน homonymous hemianopsia (ตาบอดครึ่งซีกแบบ homonymous) เป็นการการสูญเสียลานสายตาด้านเดียวกัน ในตาทั้งสองข้าง กล่าวอีกอย่างหนึ่ง คือ homonymous hemianopsia เป็นประเภทหนึ่งของโรคตาบอดครึ่งซีก ที่เกิดขึ้นที่ตาทั้งสองข้าง
  4. ภาวะเสียการระลึกรู้สีเหตุสมอง (cerebral achromatopsia) คือความบกพร่องในการรับรู้สี ที่เกิดขึ้นเพราะรอยโรคในซีกสมองด้านหนึ่งหรือสองด้าน ที่รอยต่อของสมองกลีบขมับและสมองกลีบท้ายทอย (temporo-occipital junction)
  5. ภาวะเสียการเขียน (agraphia) เป็นสภาวะที่ไม่สามารถเขียนหนังสือมีเหตุมาจากโรคทางสมอง สภาวะเสียการเขียนเป็นรูปแบบอย่างหนึ่งของภาวะเสียการสื่อความ (aphasia) ซึ่งเป็นสภาวะที่ไร้ความสามารถในการสื่อความ หรือความสามารถนั้นมีความขัดข้อง
  6. Carlson, Neil R. (2007). Psychology : the science of behaviour. New Jersey, USA: Pearson Education. p. 115. ISBN 978-0-205-64524-4.
  7. ในคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ และวิศวกรรม ความถี่ปริภูมิ (spatial frequency) เป็นลักษณะเฉพาะของโครงสร้างชนิดใดชนิดหนึ่งก็ได้ ที่เคลื่อนที่ไปในปริภูมิอย่างเป็นคาบๆ ความถี่ปริภูมิวัดได้โดยองค์ประกอบรูปไซน์ (sinusoidal component) ที่กำหนดโดยการแปลงฟูรีเย ของโครงสร้างที่เกิดขึ้นซ้ำๆ กันในช่วงระยะทางหนึ่ง หน่วยวัดสากลของความถี่ปริภูมิก็คือรอบต่อเมตร (cycles per meter)
  8. 1 2 โรคชักแบบ idiopathic (แปลว่า เกิดขึ้นเอง, ไม่รู้สาเหตุ) เป็นโรคที่โดยทั่วไปสันนิษฐานว่า เกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรม ซึ่งนำไปสู่ความเปลี่ยนแปลง (ที่ผิดปกติ) ในการควบคุมระบบประสาทขั้นพื้นฐาน
  9. Chilosi, Anna Maria (2006). "Neuropsychological Findings in Idiopathic Occipital Lobe Epilepsies". Epilepsia. 47: 76–78. doi:10.1111/j.1528-1167.2006.00696.x. PMID 17105468. Unknown parameter |month= ignored (help); Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)
  10. Destina Yalçin, A., Kaymaz, A., & Forta, H. (2000). Reflex occipital lobe epilepsy. Seizure, 9(6), 436-441.
  11. โรคชักแบบ symptomatic (แปลว่า มีอาการ, แบบทั่วไป) เกิดจากรอยโรคที่ทำให้เกิดการชัก ไม่ว่ารอยโรคนั้นจะเป็นในจุดเดียวเช่นเนื้องอก หรือเกิดจากความบกพร่องในระบบเมแทบอลิซึมที่ทำให้เกิดความเสียหายอย่างกว้างขวางในสมอง
  12. โรคชักแบบ cryptogenic (แปลว่า ไม่รู้สาเหตุ) เกี่ยวข้องกับรอยโรคที่คิดว่ามี แต่ว่า ยากที่จะค้นพบ หรือไม่สามารถจะค้นพบได้ในการตรวจสอบ
  13. Adcock, Jane E (31). "Journal of Clinical Neurophysiology". Occipital Lobe Seizures and Epilepsies. 29 (5): 397–407. สืบค้นเมื่อ November 25, 2012. Unknown parameter |month= ignored (help); Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help); Check date values in: |date=, |year= / |date= mismatch (help)
  14. Adcock, Jane E. Journal of Clinical Neurophysiology Volume 29 (2012). 'Occipital Lobe Seizures and Epilepsies. DOI: 10.1097/WNP.0b013e31826c98fe
  15. Adcock, J. E.; Panayiotopoulos, C. P. (2012). Occipital Lobe Seizures and Epilepsies. Journal of Clinical NeuroPhysiology. 29(5), 397-407. doi: 10.1097/WNP.0b013e31826c98fe

แหล่งที่มา

WikiPedia: กลีบท้ายทอย http://bf4dv7zn3u.search.serialssolutions.com.myac... http://www.sparknotes.com/psychology/neuro/brainan... http://education.yahoo.com/reference/gray/subjects... http://braininfo.rprc.washington.edu/Scripts/hierc... //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/17105468 http://www.nlm.nih.gov/cgi/mesh/2007/MB_cgi?mode=&... http://web.archive.org/web/20071231064003/http://w... //doi.org/10.1111%2Fj.1528-1167.2006.00696.x http://www.neurolex.org/wiki/birnlex_1136 https://commons.wikimedia.org/wiki/Category:Occipi...