กลไกทางประสาทของการเจริญสติ
กลไกทางประสาทของการเจริญสติ

กลไกทางประสาทของการเจริญสติ

ในสาขาจิตวิทยาของชาวตะวันตก สติ (อังกฤษ: Mindfulness[1])ซึ่งสามารถฝึกได้โดยการเ[2]เป็น "การเพ่งความใส่ใจของตนไปที่อารมณ์ ความคิด และความรู้สึกในกายที่เกิดขึ้นในขณะนี้ โดยตั้งใจ โดยยอมรับ โดยไม่ตัดสิน"[2]เป็นการปฏิบัติที่มาจากการเจริญสติในพุทธศาสนา และสร้างความนิยมในประเทศตะวันตกโดย ศ. ดร. จอน คาแบต-ซินน์ ผู้เป็นศาสตราจารย์กิตติคุณของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยแมสซาชูเซตส์เป็นหลักปฏิบัติที่มีหลักฐานแล้วว่า มีผลดีต่อปัญหาทางจิตเวชหลายอย่าง เช่น ความเศร้าซึม และดังนั้นจึงมีการประยุกต์ใช้โปรแกรมบำบัดรักษาโดยใช้สติ[3]ตัวอย่างของโปรแกรมเหล่านี้รวมทั้ง mindfulness-based cognitive therapy (ตัวย่อ MBCT แปลว่าการบำบัดทางประชานอาศัยการฝึกสติ), และ mindfulness-based stress reduction (ตัวย่อ MBSR แปลว่า การลดความเครียดอาศัยสติ)ความสามารถประยุกต์ใช้การเจริญสติในการบำบัดรักษา เป็นเรื่องที่มีหลักฐานชัดเจนแล้ว และก็มีงานศึกษาหลายงานที่พยายามจะแยกแยะองค์ประกอบของการเจริญสติแต่ว่า กลไกการออกฤทธิ์ (Mechanism of action) ที่เป็นรากฐานทางสมองของการเจริญสติและมีผลต่อการบำบัดรักษา ยังเป็นเรื่องที่ยังไม่มีการศึกษาละเอียดดี

แหล่งที่มา

WikiPedia: กลไกทางประสาทของการเจริญสติ http://www.youtube.com/watch?v=3nwwKbM_vJc/ http://www.youtube.com/watch?v=YW-TDOgstSE/ http://www.youtube.com/watch?v=jn3D_Biilqc/ //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/19904664 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2800788 //doi.org/10.1016%2Fj.neulet.2012.03.082 //doi.org/10.1080%2F08897070903250019 //doi.org/10.1097%2F01.psy.0000077505.67574.e3 //doi.org/10.1177%2F1745691611419671 http://www.mindfulexperience.org/resources/brief_d...