โครงข่าย ของ การขนส่งระบบรางในประเทศพม่า

มีสถานีรถไฟที่เปิดใช้งานอยู่ 960 สถานีในพม่า โดยมีสถานีรถไฟย่างกุ้งและสถานีรถไฟมัณฑะเลย์เป็นสถานีศูนย์กลาง

พม่าตอนล่าง

สายเส้นทางหมายเหตุ
ย่างกุ้ง-มัณฑะเลย์ย่างกุ้ง-พะโค-ตองอู-เนปยีดอ-ตาซี-มัณฑะเลย์620 กิโลเมตร (390 ไมล์), รถด่วนไม่จอดสถานีพะโค
ย่างกุ้ง-เมาะลำเลิงย่างกุ้ง-พะโค-Theinzayat-ไจโท-สะเทิม-เมาะตะมะ-เมาะลำเลิง296 กิโลเมตร (184 ไมล์)
ย่างกุ้ง-พุกามย่างกุ้ง-ตองอู-Leway-ตอง-ดวี่นจี้-เจาะปะด้อง-พุกาม625 กิโลเมตร (388 ไมล์)
ย่างกุ้ง-ปะโคะกูย่างกุ้ง-ตองอู-Leway- ตอง-ดวี่นจี้-เจาะปะด้อง-พุกาม-ปะโคะกู652 กิโลเมตร (405 ไมล์)
ย่างกุ้ง-อองลาน-พุกามย่างกุ้ง-Letbadan-ป้องเด-อองลาน-เจาะปะด้อง-พุกาม676 กิโลเมตร (420 ไมล์)
ย่างกุ้ง-แปรย่างกุ้ง-แปร259 กิโลเมตร (161 ไมล์)
เส้นทวายเมาะลำเลิง-เย-ทวาย339 กิโลเมตร (211 ไมล์) กำลังก่อสร้างเส้นมะริด

พม่าตอนบน

สถานีรถไฟมัณฑะเลย์
สายเส้นทางหมายเหตุ
มัณฑะเลย์-มิตจีนามัณฑะเลย์-สะกาย-ชเวโบ-มิตจีนา361 กิโลเมตร (224 ไมล์)
เส้นรัฐฉานมัณฑะเลย์-ปยีนอู้ลวีน-Kyaukme-สี่ป้อ-ล่าเสี้ยว441 กิโลเมตร (274 ไมล์)
มัณฑะเลย์-ตาซีมัณฑะเลย์-Thedaw-Dahuttaw-Hanza-Ywapale-ตาซี500 กิโลเมตร (310 ไมล์)
โมนยวา-ปะโคะกูโมนยวา-Khinnu-มัณฑะเลย์-ปะโคะกู729 กิโลเมตร (453 ไมล์)

รถไฟวงแหวนย่างกุ้ง

ดูบทความหลักที่: รถไฟวงแหวนย่างกุ้ง

เป็นระบบรถไฟชานเมืองในเขตย่างกุ้งและปริมณฑล มีระยะทาง 81 กิโลเมตร (50 ไมล์) จำนวน 39 สถานี มีผู้ใช้ราว 150,000 คนต่อวัน และมีขบวนรถไฟ 300 ขบวนวิ่งวนรอบทุกวัน[3][4]

ใกล้เคียง

การขนส่งในประเทศไทย การขนส่งระบบรางในประเทศไทย การขนส่งในประเทศเกาหลีใต้ การขนส่งในกัวลาลัมเปอร์ การขนส่งระบบรางในประเทศอินโดนีเซีย การขนส่งในประเทศอินโดนีเซีย การขนส่งในประเทศฮังการี การขนส่งสาธารณะในหุบเขากลัง การขนส่งระบบรางในประเทศญี่ปุ่น การขนส่งระบบรางในประเทศกัมพูชา