หลักทั่วไป ของ การทับศัพท์ภาษาสเปน

1. การทับศัพท์ภาษาสเปนตามหลักเกณฑ์นี้ยึดการออกเสียงเป็นหลัก โดยถ่ายเสียงพยัญชนะและสระตามการออกเสียงในภาษาสเปนแบบกัสติยา (Castilian Spanish)[# 1] ซึ่งเป็นตัวแบบมาตรฐานของภาษาสเปนที่ใช้ในประเทศสเปน มีตารางเทียบเสียงพยัญชนะ สระเดี่ยว สระเรียงสองเสียง และสระประสมสองเสียง โดยใช้รูปเขียนเป็นตัวตั้งเนื่องจากคำภาษาสเปนโดยทั่วไปออกเสียงตรงตามรูปเขียน

2. การแบ่งพยางค์สำหรับพยัญชนะในตำแหน่งกลางคำ มีข้อกำหนดดังนี้

2.1 หากมีพยัญชนะตัวเดียวอยู่ระหว่างสระ ให้พยัญชนะตัวนั้นไปเป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ที่ตามมา เช่น
aroma [a.ˈɾo.ma]
cayeren [ka.ˈʝ̞e.ɾen]
azulejo [a.θu.ˈle.xo]
=
=
=
อาโรม
กาเ
อาซู
- รูปเขียน ch เป็นทวิอักษร ออกเสียงเพียงเสียงเดียวคือ [t͡ʃ] เมื่ออยู่ระหว่างสระจึงถือเป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ที่ตามมา เช่น
hacha [ˈa.t͡ʃa]
lechón [le.ˈt͡ʃon]
=
=
อา
เลอน
- รูปเขียน gu (ที่นำหน้า e และ i) เป็นทวิอักษร ออกเสียงเพียงเสียงเดียวคือ [ɡ~ɣ̞] เมื่ออยู่ระหว่างสระจึงถือเป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ที่ตามมา เช่น
juguete [xu.ˈɣ̞e.te]
seguida [se.ˈɣ̞i.ð̞a]
=
=
ฆูเเต
เซกิดา
- รูปเขียน ll เป็นทวิอักษร ออกเสียงเพียงเสียงเดียวคือ [ʎ] เมื่ออยู่ระหว่างสระจึงถือเป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ที่ตามมา เช่น
batalla [ba.ˈta.ʎa]
aullido [au̯.ˈʎi.ð̞o]
=
=
บาตา
เอายิโด
- รูปเขียน qu เป็นทวิอักษร ออกเสียงเพียงเสียงเดียวคือ [k] เมื่ออยู่ระหว่างสระจึงถือเป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ที่ตามมา เช่น
ataque [a.ˈta.ke]
equipo [e.ˈki.po]
=
=
อาตาเ
เอกิโป
- รูปเขียน ñ ออกเสียงเพียงเสียงเดียวคือ [ɲ] เมื่ออยู่ระหว่างสระจึงถือเป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ที่ตามมา แต่ในการทับศัพท์ให้ถอดเสียงเป็น ญญ โดยแยก ญ ตัวแรกไปเป็นพยัญชนะท้ายของพยางค์หน้า และแยก ญ ตัวที่สองไปเป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ที่ตามมา เช่น
dueñas [ˈdu̯e.ɲas]
Logroño [lo.ˈɣ̞ɾo.ɲo]
=
=
ดูเอญญั
โลกรอ
- รูปเขียน rr เป็นทวิอักษร ออกเสียงเพียงเสียงเดียวคือ [r] เมื่ออยู่ระหว่างสระจึงถือเป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ที่ตามมา แต่ในการทับศัพท์ให้ถอดเสียงเป็น รร โดยแยก ร ตัวแรกไปเป็นพยัญชนะท้ายของพยางค์หน้าพร้อมกับใส่เครื่องหมายทัณฑฆาตกำกับไว้ และแยก ร ตัวที่สองไปเป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ที่ตามมา เช่น
arroz [a.ˈroθ]
sierra [ˈsi̯e.ra]
=
=
อาร์
ซิเอร์ร
2.2 หากมีพยัญชนะสองตัวอยู่ระหว่างสระ ให้แยกพยัญชนะตัวแรกไปเป็นพยัญชนะท้ายของพยางค์หน้า และแยกพยัญชนะตัวที่สองไปเป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ที่ตามมา เช่น
acción [akθi̯on]
gusto [ˈɡus.to]
ctor [ˈek.toɾ]
piscina [pisθi.na]
ritmo [ˈrit.mo]
cuervo [ˈku̯eɾ.β̞o]
sonriente [sonri̯en.te]
=
=
=
=
=
=
=
อักซิออน
กุ
เอกตอร์
ปิสซินา
ริ
กูเอร์
ซอนริเอ
ในกรณีที่พยัญชนะสองตัวนั้นเป็นพยัญชนะ b, c, d, f, g หรือ p ตามด้วยพยัญชนะ l หรือ r จะถือว่าเป็นพยัญชนะควบในตำแหน่งต้นพยางค์ที่ตามมา ให้ทับศัพท์ตามข้อ 3.

3. พยัญชนะควบในตำแหน่งต้นพยางค์ ในภาษาสเปนมี 12 รูป ให้ทับศัพท์เป็นพยัญชนะควบดังนี้

bl
br
cl
cr
dr
fl
fr
gl
gr
pl
pr
tr
=
=
=
=
=
=
=
=
=
=
=
=
บล
บร
กล
กร
ดร
ฟล
ฟร
กล
กร
ปล
ปร
ตร
เช่น
เช่น
เช่น
เช่น
เช่น
เช่น
เช่น
เช่น
เช่น
เช่น
เช่น
เช่น
Blasco
bravo
Clarín
crema
drama
Flandes
Franco
Gloria
grande
plaza
Prieto
Triana
=
=
=
=
=
=
=
=
=
=
=
=
บลัสโก
บราโบ
กลาริน
กรมา
ดรามา
ฟลันเดส
ฟรังโก
กลเรีย
กรันเด
ปลาซา
ปริเอโต
ตรียนา
robledo
Cabrera
bicicleta
macro
Pedrosa
Miraflores
defrauda
Manglano
sagrado
templo
supremo
patrulla
=
=
=
=
=
=
=
=
=
=
=
=
โรเบลโด
กาเบรรา
บิซิเกลตา
มาโกร
เปโดรซา
มิราโฟลเรส
เดเฟราดา
มังกลาโน
ซากราโด
เตมโปล
ซูเปรโม
ปาตรูยา
habla
Ebro
ciclo
mediocre
Andrés
flex
descifre
inglés
tigre
simple
siempre
centro
=
=
=
=
=
=
=
=
=
=
=
=
อาบล
เอโบร
ซิโกล
เมดิโอเกร
อันเดร
เรเฟลกซ์
เดสซิเฟร
อิงเกล
ติเกร
ซิมเปล
ซิเอมเปร
เซนโตร
อนึ่ง พยัญชนะ tl ถือเป็นพยัญชนะควบในหมู่เกาะคะแนรีและพื้นที่หลายแห่งของลาตินอเมริกา (โดยเฉพาะเม็กซิโก กัวเตมาลา คอสตาริกา เอกวาดอร์ เปรู และชิลี) แต่ไม่ถือเป็นพยัญชนะควบในปวยร์โตรีโกและพื้นที่ส่วนใหญ่ของสเปน[1] หลักเกณฑ์นี้จึงกำหนดให้ทับศัพท์ tl ในตำแหน่งระหว่างสระโดยให้ t ไปเป็นพยัญชนะท้ายของพยางค์หน้า และให้ l ไปเป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ถัดไป เช่น
ตัวอย่างคำ

Atlántico
atlas
atleta
การออกเสียง
แบบเม็กซิโก

[a.ˈtlan.ti.ko]
[ˈa.tlas]
[a.ˈtle.ta]
การออกเสียง
แบบกัสติยา

[atlan.ti.ko]
[ˈat.las]
[atle.ta]
คำทับศัพท์

อัตลันติโก
อัตลั
อัตา

4. รูปเขียน ps ในตำแหน่งต้นคำไม่ออกเสียง p เมื่อทับศัพท์ให้ถอดเสียงเฉพาะ s เช่น

psicología [si.ko.lo.ˈxi.a]=ซิโกโลฆิอา
แต่ถ้าอยู่ในตำแหน่งกลางคำจะออกเสียง p ด้วย เมื่อทับศัพท์ให้แบ่งพยางค์ตามข้อ 2.2 กล่าวคือ ให้ p ไปเป็นพยัญชนะท้ายของพยางค์หน้า และให้ s ไปเป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ถัดไป เช่น
autopsia [au̯.ˈtop.si̯a]=เอาตอซี

5. หน่วยเสียงพยัญชนะกัก /b/, /d/, /ɡ/ ในภาษาสเปนแบบกัสติยามีหน่วยเสียงย่อยเป็นเสียงกัก [b], [d], [ɡ] และเสียงเปิด [β̞], [ð̞], [ɣ̞][2][3] ในการทับศัพท์ให้ใช้รูปพยัญชนะไทยตัวเดียวกันคือ บ, ด และ ก ตามลำดับ เช่น

bebió
vuelve
dados
garganta
/bbi̯o/
bu̯el.be/
dados/
/ɡaɾˈɡanta/
>
>
>
>
[bβ̞i̯o]
bu̯el.β̞e]
dað̞os]
[ɡaɾˈɣ̞anta]
=
=
=
=
บบิโอ
บูเอลเ
าโ
าร์กันตา

6. รูปเขียน h ในคำภาษาสเปนโดยทั่วไปไม่ออกเสียง เมื่ออยู่ในตำแหน่งต้นคำหรือระหว่างสระให้ทับศัพท์โดยใส่ อ เพื่อเป็นทุ่นให้สระเกาะ เช่น

Hugo [ˈuɣ̞o]
Anahí [anaˈi]
nihilismo [ni.i.ˈliz.mo]
=
=
=
อูโก
อานาอี
นิอิลิสโม

7. สระที่เรียงกัน 2 ตัว สระเดี่ยวในภาษาสเปนแบ่งออกเป็นสระเสียงเบา ได้แก่ i, u และสระเสียงหนัก ได้แก่ a, e, o เมื่อสระเหล่านี้เรียงต่อกัน 2 ตัว จะออกเสียงเป็นสระประสมสองเสียงและสระเรียงสองเสียง มีหลักเกณฑ์การทับศัพท์ดังนี้

7.1 ถ้าสระที่เรียงกันนั้นเป็นสระเสียงเบาต่างรูปกัน[4] หรือเป็นสระเสียงเบากับสระเสียงหนัก ไม่ว่าสระเสียงหนักตัวนั้นจะมีเครื่องหมายลงเสียงหนัก (´) หรือไม่ก็ตาม จะออกเสียงรวมกันเป็นสระประสม กำหนดให้ทับศัพท์ดังนี้7.1.1 สระประสมที่ในภาษาไทยมีรูปสระประสมตรงกันหรือใกล้เคียงกัน ให้ทับศัพท์เป็นสระประสมเหล่านั้น เช่น
aire
pausa
Jáuregui
magia
Sur
anual
Pizjn
=
=
=
=
=
=
=
อเร
ซา
เรกิ
มาเฆีย
ซูเรีย
อาน
ปิซฆ
7.1.2 สระประสมที่ในภาษาไทยไม่มีรูปสระประสมตรงกันหรือใกล้เคียงกัน แต่สามารถใช้ ย หรือ ว ถ่ายเสียงได้ใกล้เคียง ให้ทับศัพท์เป็นสระที่มี ย หรือ ว เป็นพยัญชนะท้าย เช่น
viuda
Ruiz
hoy
Europa
Bernabéu
=
=
=
=
=
บิวดา
รุยซ์
อย
โรปา
เบร์นา
7.1.3 สระประสมที่ในภาษาไทยไม่มีรูปประสมตรงกันหรือใกล้เคียงกัน ให้ทับศัพท์แยกเสียงกัน เช่น
cielo
vicio
puente
continuo
=
=
=
=
ซิเอโล
บิซิโอ
ปูเอนเต
กอนตินูโอ
7.1.4 ในทางอักขรวิธี รูปสระ iu ถือเป็นสระประสมเนื่องจากประกอบด้วยสระเสียงเบาต่างรูปกัน แต่เมื่อปรากฏในคำจำนวนหนึ่งอาจออกเสียงเป็นสระประสม [i̯u] หรือเป็นสระเรียง [i.u] ขึ้นอยู่กับผู้พูดและสำเนียง[5] หลักเกณฑ์นี้มิได้คำนึงถึงการแปรทางเสียงดังกล่าว แต่ให้ทับศัพท์ iu เป็นสระประสมตามข้อ 7.1.2 เมื่อเป็นพยางค์เปิด (พยางค์ที่ไม่มีพยัญชนะท้าย) และให้ทับศัพท์ iu โดยแยกเสียงกันเมื่อเป็นพยางค์ปิด (พยางค์ที่มีพยัญชนะท้าย) เช่น
ciudad
friura
triunfo
diurna
=
=
=
=
ซิวดัด
ริวรา
ริอุนโฟ
ดิอูร์นา
7.1.5 ในทางอักขรวิธี รูปสระ ui และ uí ถือเป็นสระประสมเนื่องจากประกอบด้วยสระเสียงเบาต่างรูปกัน แต่เมื่อปรากฏในคำจำนวนหนึ่งอาจออกเสียงเป็นสระประสม [u̯i] หรือเป็นสระเรียง [u.i] ขึ้นอยู่กับผู้พูดและสำเนียง[5] หลักเกณฑ์นี้มิได้คำนึงถึงการแปรทางเสียงดังกล่าว แต่ให้ทับศัพท์ ui เป็นสระประสมตามข้อ 7.1.2 และให้ทับศัพท์ uí โดยแยกเสียงกัน เช่น
hui
incluido
Luis
destr
acfero
=
=
=
=
=
อุย
อิงกลุยโด
ลุยส์
เดสตรูอี
อากูอิเฟโร
7.2 ถ้าสระที่เรียงกันนั้นเป็นสระเสียงหนักกับสระเสียงเบาที่มีเครื่องหมายลงเสียงหนักกำกับอยู่ จะออกเสียงแยกกัน ให้ทับศัพท์แยกเสียงกัน เช่น
Rl
ldo
secretaría
do
púa
=
=
=
=
=
าอุ
อิโด
เซเกรตาริอา
อิโด
ปูอา
7.3 ถ้าสระที่เรียงกันนั้นเป็นสระเสียงหนักทั้งคู่ ไม่ว่าจะมีเครื่องหมายลงเสียงหนักหรือไม่ก็ตาม จะออกเสียงแยกกัน ให้ทับศัพท์แยกเสียงกัน เช่น
Saavedra
cacao
Beatriz
lee
boa
oeste
reo
océano
cgulo
=
=
=
=
=
=
=
=
=
าอาเบดรา
กากาโอ
อาตริซ
เอ
อา
เอสเต
าเอเโอ
โออาโน
อากูโล

8. สระประสมสามเสียง ในภาษาสเปนมักพบในรูปกริยาที่กระจายแล้ว เช่น cambiáis, acariciéis, averiguáis, habituéis ซึ่งโดยปรกติไม่จำเป็นต้องทับศัพท์ จึงมิได้ตั้งหลักเกณฑ์สำหรับสระประสมสามเสียง

9. การใช้เครื่องหมายทัณฑฆาต มีหลักเกณฑ์ดังนี้

9.1 รูปพยัญชนะ r ในตำแหน่งท้ายพยางค์ ซึ่งออกเสียง [ɾ] หรือ [r] กำหนดให้ทับศัพท์เป็น ร และใส่เครื่องหมายทัณฑฆาตกำกับไว้ เช่น
Marta
rdoba
perseguir
cuarto
=
=
=
=
มาร์ตา
กอร์โดบา
เปร์เซกีร์
กัวร์โต
9.2 ทวิอักษร rr ซึ่งออกเสียง [r] เพียงเสียงเดียว กำหนดให้ทับศัพท์โดยซ้อนพยัญชนะเป็น รร และใส่เครื่องหมายทัณฑฆาตกำกับไว้ที่ ร ตัวแรก เช่น
churro [ˈt͡ʃu.ro]
tierra [ˈti̯e.ra]
=
=
ชูร์
ติเอร์ร
9.3 รูปพยัญชนะ x ในตำแหน่งท้ายคำ ซึ่งออกเสียงเป็นพยัญชนะควบ [ks] กำหนดให้ทับศัพท์เป็น กซ์ เช่น
tórax [ˈtoɾaks]=โตรักซ์
9.4 รูปสระประสม ei และ ey ซึ่งออกเสียง [ei̯] กำหนดให้ทับศัพท์เป็น เ–ย์ เช่น
peine [ˈpei̯.ne]
veinte [ˈbei̯n.te]
rey [rei̯]
=
=
=
ย์เน
ย์นเต
ย์
9.5 รูปสระประสม ou ซึ่งออกเสียง [ou̯] กำหนดให้ทับศัพท์เป็น โ–ว์ เมื่อเป็นพยางค์เปิด เช่น
bou [bou̯]=ว์
9.6 รูปพยัญชนะบางตัว เช่น s, z เมื่อตามหลังรูปสระประสมบางตัว เช่น oi, ui ไม่สามารถออกเสียงตามระบบเสียงภาษาไทยได้ ในการทับศัพท์จึงให้ใส่เครื่องหมายทัณฑฆาตกำกับไว้ เช่น
sois
Ruiz
=
=
ซอยส์
รุยซ์

10. การเขียนคำทับศัพท์ชื่อเฉพาะ มีหลักเกณฑ์ดังนี้

10.1 คำทับศัพท์ที่เป็นชื่อตัวและนามสกุล ให้เขียนแยกคำตามการเขียนในภาษาสเปน เช่น
David Villa
Juan Carlos Ferrero
Alfonso de Valdés
=
=
=
ดาบิด บิยา
ฆวน การ์โลส เฟร์เรโร
อัลฟอนโซ เด บัลเดส
คำทับศัพท์ที่เป็นชื่อตัวและตามด้วยฉายานาม ให้เขียนแยกคำตามการเขียนในภาษาสเปน เช่น
Isabel la Católica
Pedro el Cruel
Miguel Báez "El Litri"
=
=
=
อิซาเบล ลา กาโตลิกา
เปโดร เอล กรูเอล
มิเกล บาเอซ "เอล ลิตริ"
10.2 คำทับศัพท์ที่เป็นคำนำหน้าชื่อตัวหรือนามสกุล ให้เขียนคำทับศัพท์ที่เป็นคำนำหน้านั้นติดกับชื่อตัวหรือนามสกุล เช่น
Don Juan de Borbón
Doña Letizia Ortiz
Señor García
Señora López
=
=
=
=
ดอนฆวน เด บอร์บอน
ดอญญาเลติเซีย ออร์ติซ
เซญญอร์การ์ซิอา
เซญโญราโลเปซ
คำทับศัพท์ที่เป็นตำแหน่ง ยศ หรือบรรดาศักดิ์ซึ่งตามด้วยชื่อตัวหรือนามสกุล ให้เขียนคำทับศัพท์ที่เป็นตำแหน่ง ยศ หรือบรรดาศักดิ์นั้นติดกับชื่อตัวหรือนามสกุล เช่น
Baronesa Thyssen=บาโรเนซาติสเซน
คำทับศัพท์ที่เป็นตำแหน่ง ยศ หรือบรรดาศักดิ์ซึ่งตามด้วยคำที่ไม่ใช่ชื่อตัวหรือนามสกุล ให้เขียนแยกคำตามการเขียนในภาษาสเปน เช่น
Conde de Floridablanca
Duquesa de Alba
=
=
กอนเด เด โฟลริดาบลังกา
ดูเกซา เด อัลบา
10.3 คำทับศัพท์ที่เป็นชื่อเฉพาะประเภทอื่น ๆ ให้เขียนแยกคำตามการเขียนในภาษาสเปน เช่น
El Juli
La Faraona
El Prado
La Razón
La Mancha
Jerez de la Frontera
=
=
=
=
=
=
เอล ฆูลิ (ฉายานักสู้วัว)
ลา ฟาราโอนา (ฉายานักร้อง)
เอล ปราโด (ชื่อพิพิธภัณฑ์)
ลา ราซอน (ชื่อหนังสือพิมพ์)
ลา มันชา (ชื่อภูมิภาค)
เฆเรซ เด ลา ฟรอนเตรา (ชื่อเมือง)

11. คำบอกประเภทสถานที่ เช่น ชื่อถนน ชื่อเมือง ชื่อหมู่เกาะ ให้เขียนได้ 2 แบบโดยทับศัพท์หรือแปลก็ได้ เช่น

Avenida de Cervantes
Calle Valentín Calderón
Ciudad de Panamá
Islas Baleares
=
=
=
=
อาเบนิดา เด เซร์บันเตส, ถนนเซร์บันเตส
กาเย บาเลนติน กัลเดรอน, ถนนบาเลนติน กัลเดรอน
ซิวดัด เด ปานามา, กรุงปานามา
อิสลัส บาเลอาเรส, หมู่เกาะบาเลอาเรส

12. คำที่มีเครื่องหมายยัติภังค์ ให้ทับศัพท์โดยคงเครื่องหมายยัติภังค์ไว้ตามภาษาสเปน เช่น

Isabel Ramos-García
Ramón del Valle-Inclán
Castilla-La Mancha
=
=
=
อิซาเบล ราโมส-การ์ซิอา
รามอน เดล บาเย-อิงกลัน
กัสติยา-ลา มันชา

13. คำย่อ ให้เขียนชื่อตัวอักษรนั้น ๆ เป็นภาษาไทย ดังนี้[# 2]

A
D
G
J
M
O
R
U
X
=
=
=
=
=
=
=
=
=
อา
เด
เฆ
โฆตา
เอเม
โอ
เอเร[# 3]
อู
เอกิส
B
E
H
K
N
P
S
V
Y
=
=
=
=
=
=
=
=
=
เบ
เอ
อาเช
กา
เอเน
เป
เอเซ
อูเบ
อีกริเอกา[# 4]
C
F
I
L
Ñ
Q
T
W
Z
=
=
=
=
=
=
=
=
=
เซ
เอเฟ
อี
เอเล
เอญเญ
กู
เต
อูเบโดเบล
เซตา
หมายเหตุ
  1. "ภาษาสเปนแบบกัสติยา" เป็นชื่อเรียกรูปแบบที่เป็นกลางของภาษาสเปนสำเนียงต่าง ๆ ที่ใช้กันในภูมิภาคกัสติยา (ทางตอนเหนือและตอนกลางของสเปน) เช่น สำเนียงลาริโอฆา สำเนียงบายาโดลิด สำเนียงเลออน เป็นต้น ภาษาสเปนแบบกัสติยาจึงมิได้เป็นสำเนียงของท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่งโดยตรง
  2. เดิมถือว่าทวิอักษร ch (เช) และ ll (เอเย) เป็นตัวอักษรต่างหากในชุดตัวอักษรภาษาสเปน แต่ต่อมาราชบัณฑิตยสถานสเปนและสมาคมบัณฑิตยสถานภาษาสเปนได้ตัดทวิอักษรทั้งสองออกจากชุดตัวอักษรอย่างเป็นทางการ ตามที่ระบุในหนังสือ Ortografía de la lengua española, 2010.
  3. อักษร r ในภาษาสเปนมีชื่อเรียก 2 ชื่อ คือ เอเร (ere) และ เอร์เร (erre) แต่หนังสือ Ortografía de la lengua española, 2010. แนะนำให้เรียกชื่อตัวอักษรนี้ว่า เอร์เร เพียงชื่อเดียว
  4. อักษร y ในภาษาสเปนมีชื่อเรียก 2 ชื่อ คือ อีกริเอกา (i griega) และ เย (ye) แต่หนังสือ Ortografía de la lengua española, 2010. แนะนำให้เรียกชื่อตัวอักษรนี้ว่า เย เพียงชื่อเดียว

ใกล้เคียง

การทัพนอร์เวย์ การทัพกัลลิโพลี การทัพมาลายา การทับศัพท์ การทัพปราบตั๋งโต๊ะ การทัพหมู่เกาะโซโลมอน การทัพตามแนวชายแดนจีน-พม่า การทัพอัลอันฟาล การทัพปราบอ้วนสุด การทัพกัวดัลคะแนล