ตารางเทียบเสียง ของ การทับศัพท์ภาษาฮินดี

เสียงพยัญชนะ

อักษรโรมันอักษรไทยอักษรเทวนาครีตัวอย่าง
อักษรโรมันทับศัพท์
(แบบคงรูป)
ทับศัพท์
(แบบปรับรูป)
ภาษาไทยใช้
B
 b พ ब Buddh พุทฺธ พุทธะ พุทธะ, พุทธ
 śabd ศพฺ ศัทะ ศัท์
 Śatābdi ศตาพฺทิ ศตาทิ
 b[# 1] บ ब baṛā รา รา
 kitāb กิตาบฺ กิตา
 Kutubminār กุตุบฺมินารฺ กุตุมินาร์
 bh ภ भ abhyās อภฺยาส อัยาสะ
 Bhīm ภี ภีมะ ภีมะ, ภี
C
 c[1] จ च baccā บจฺจ บัจจ
 candra นฺทฺระ จันทระ จันทร์
 ch[2] ฉ छ chatr ตฺร ฉัตระ ฉัตร, ฉัตรา
D
 d ท द Buddh พุทฺ พุธะ พุธะ, พุ
 dās าส าสะ าส, าสา
 d[# 1] ด द bādshāh บาดฺชาหฺ บาชาห์
 Delhī เลฺฮี เลฮี เลี
 ḍ[3] ฑ[4] ड amaru มรุ มรุ
 krīā กฺรี กรี กรี
 laḍḍū ลฑฺฑู ลัฑฑู
 dh ธ ध dharm รฺม รรมะ รรม
 Madhya Pradeś มธฺยะ ปฺรเทศ มัยะ ปรเทศะ มัยประเทศ
 nidhi นิธิ นิธิ นิธิ
 ḍh ฒ ढ ḍhol โลฺ โละ
F
 f[# 1] ฟ फ़ faqīr กีรฺ กีร์
 gaffār กฟฺฟารฺ กัฟฟาร์
G
 g ค ग agni อคฺนิ อันิ อันี
 go โ โ โ
 g̱[# 1][5] ค ग़ bā บาคฺ บา
 aznavid ซฺนวิดฺ คัซนวิด
 aznī ซฺนี คัซนี
 iyas-ud-dīn คิยสฺอุดฺดีนฺ คิยัส-อุด-ดีน
 Moul, Mual โมลฺ, มุลฺ โมคัล, มุคั โมกุล, มุคั
 Tulākābād ตุคฺลากาบาด ตุลากาบาด
 gh ฆ घ bāgh พาฆฺ พา
 ghoṣ โ โษะ โษะ, โ
H
 h ห ह brahm พฺรหฺ พรมะ พร
 Himālay หิมาลย หิมาลยะ หิมาลัย
 h[# 1] ห, ฮ ह Ahmadābād อหฺมดาบาดฺ อัห์มดาบาด
 Hindū ฮินฺดู ฮินดู ฮินดู
 ḥ ห์ ः dukh ทุห์ ทุห์ขะ ทุกข์
J
 j ช ज jay  ยะ ชัย, ชัยโย
 vijñān วิชฺญาน วิญานะ วิญญาณ
 jh ฌ झ jhānsī านฺสี านสี
K
 k ก क Kuru กุรุ กุรุ
 yak ยกฺ ยัษะ ยัษ์, ยัษา
 kh ข ख Kharoṣṭhī โรษฺฐี โรษฐี
 Sikh สิ สิ สิ, สิกข์
 śikhar ศิ ศิระ ศิ
 kh[# 1][6] ข ख़ Ālī Khān อาลี านฺ อาลี าน อาลี ข่าน
 Bakht Khān บขฺตฺ าน บัต์ าน
 khilāfat ขิลาฟตฺ ขิลาฟัต
L
 l ล ल Lakṣmaṇ กฺษฺมณ ลักษมณะ ลักษมัณ, ลักษมณ์
 vallabh วลฺล วัลลภะ วัลลภ, วัลลภา
M
 m ม म Mahādev หาเทว หาเทวะ หาเทพ
 samrāṭ สมฺราฏฺ สัราฏ
 ṁ[7] ง ँ hū ฮู ฮู
 ṃ[8] ง ं daṣṭrā ทงฺษฺฏฺรา ทัษฏรา
 sahitā สงฺหิตา สัหิตา
 sasār สงฺสาร สัสาระ สสาร, สัสาร (วัฏ)
 sayog สงฺโยค สัโยคะ สัโยค
N
 n น न mantra มนฺตฺระ มัตระ มตร์
 nīti นีติ นีติ นีติ, นิติ
 ṅ[9] ง ङ ag องฺ อัคะ อค์
 ñ[10] ญ ञ Sañjay สญฺชย สัญชยะ สชัย, สัชัย
 ṇ[11] ณ ण maḍan มณฺฑน มัฑนะ มัฑนา
P
 p ป प Pāṭaliputra าฏลิปุตฺระ าฏลิปุตระ าฏลีบุตร
 pitā ปิตา ปิตา บิดา
 ppt ปฺราปฺ ราตะ ราบดา (ภิเษก)
 samāpt สมาปฺ สมาตะ
 ph ผ फ phal ล [ผะ-ละ] ละ [ผะ-ละ] ล [ผน]
Q
 q[# 1][12] ก क़ qilā กิลา กิลา
R
 r ร र rājadhānī าชธานี าชธานี าชธานี
 ṛ[# 1][13] ร ड़ baā บ บ
 baba บรฺรฺ บ
 bīī บีรี บีรี
 Kāṭhiāvā กาเฐียวารฺ, กาฐยาวารฺ กาเฐียวา, กาฐยาวา
 ṛh[# 1][14] รฺห[15] ढ़ Caṇḍīgaṛh จณฺฑีครฺห จัณฑีครห์
S
 s ส स Somadev โมเทว โมเทวะ โมเทพ
 vastu วสฺตุ วัตุ วัดุ, พัดุ
 ś[16] ศ श Kaśyap กศฺยป กัยปะ กัยป
 śāstra าสฺตฺร าสตระ าสตร์
 ṣ[17] ษ ष aḍānan ฑานน ฑานนะ
 śiya ศิษฺ ศิยะ ศิย์
T
 t ต त pātāl ปาาล ปาาละ บาดาล
 pātra ปาตฺระ ปาระ บา
 tapas ปสฺ ปัส บะ
 ṭ[18] ฏ ट Bhaṭṭācārya ภฏฺฏาจารฺยะ ภัฎฎาจารยะ ภัฏฏาจารย์
 īkā ฏีกา ฏีกา ฎีกา
 th ถ थ path ป ป บ
 sthān สฺาน สานะ สาน, สานะ
 thambh มฺภ ถัมภะ
 ṭh[19] ฐ ठ jhūṭh ฌูฐฺ ฌู
 pīṭh ปี ปี บิ
 ṭhākur ากุรฺ ากุรฺ ากูร
V
 v[20] ว व divya ทิวฺยะ ทิยะ ทิพย์
 Vvanāth วิศฺนาถ วินาถะ วินาถ
Y
 y ย य pey เป เป
 Yamunā มุนา มุนา มนา, มุนา
Z
 z[# 1] ซ ज़ āzād อาาดฺ อาาด
 G̱az คซฺนี คันี
 zang̱ārī งฺคารี ซังคารี
หมายเหตุ
  1. 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 พยัญชนะนอกระบบ
  1. บางครั้งมีผู้ใช้ ch แทน c เช่น candra = จันทระ ใช้เป็น chandra
  2. บางครั้งมีผู้ใช้ chh แทน ch เช่น chatr = ฉัตระ ใช้เป็น chhatr
  3. บางครั้งมีผู้ใช้ ḏ แทน ḍ เช่น krīā = กรีฑา ใช้เป็น krīā
  4. พยัญชนะ ฑ ในภาษาฮินดีออกเสียงใกล้เคียงเสียง ด ในภาษาไทย
  5. บางครั้งมีผู้ใช้ g, g̣, gh แทน g̱ เช่น bā = บาค ใช้เป็น bāg, bā, bāgh
  6. บางครั้งมีผู้ใช้ ḳḥ, ḳh แทน kh เช่น khilāfat = ขิลาฟัต ใช้เป็น ḳḥilāfat, ḳhilāfat
  7. ṁ ใช้แทนจันทรพินทุ (candrabindu) เป็นเครื่องหมายกำกับสระเพื่อให้ออกเสียงขึ้นจมูกคล้ายเสียง "ง" จึงใช้ "ง" แทน
  8. ṃ ใช้แทนอนุสวาร (anusvāra) เป็นเครื่องหมายกำกับสระ เมื่ออยู่หน้าพยัญชนะเศษวรรคจะออกเสียงขึ้นจมูกฟังคล้ายเสียง "ง" จึงใช้ "ง" แทน
  9. ṅ ที่เป็นตัวสะกดและตามด้วยพยัญชนะในวรรค ก (k, kh, g, gh, ṅ) จะออกเสียงเป็น "ง" และบางทีก็ใช้ n, ng แทน ṅ เช่น ag = อังคะ ใช้เป็น ang, angg
  10. ñ ที่เป็นตัวสะกดและตามด้วยพยัญชนะในวรรค จ (c, ch, j, jh, ñ) จะออกเสียงเป็น "ญ" และบางทีก็ใช้ n แทน ñ เช่น Sañjay = สัญชยะ ใช้เป็น Sanjay
  11. ṇ ที่เป็นตัวสะกดและตามด้วยพยัญชนะในวรรค ฏ (ṭ, ṭh, ḍ, ḍh, ṇ) จะออกเสียงเป็น "ณ" และบางทีก็ใช้ n, ṉ แทน ṇ เช่น maḍan = มัณฑนะ ใช้เป็น manḍan, maḍan
  12. บางครั้งมีผู้ใช้ ḳ แทน q เช่น qilā = กิลา ใช้เป็น ilā
  13. บางครั้งมีผู้ใช้ ṟ แทน ṛ เช่น baā = บรา ใช้เป็น baā
  14. บางครั้งมีผู้ใช้ rh แทน ṛh เช่น Caṇḍīgaṛh = จัณฑีครห์ ใช้เป็น Caṇḍīgarh
  15. รฺห แทนพยัญชนะตัวเดียวในภาษาฮินดีที่ออกเสียงเหมือน ร ตามด้วยกลุ่มลม
  16. บางครั้งมีผู้ใช้ sh แทน ś เช่น śāstra = ศาสตระ ใช้เป็น shāstra
  17. บางครั้งมีผู้ใช้ s, sh แทน ṣ เช่น aḍānan = ษฑานนะ ใช้เป็น Saḍānan, Shaḍānan
  18. บางครั้งมีผู้ใช้ ṯ แทน ṭ เช่น īkā = ฏีกา ใช้เป็น īkā
  19. บางครั้งมีผู้ใช้ th แทน ṭh เช่น pīṭh = ปีฐะ ใช้เป็น pīth
  20. - บางครั้งมีผู้ใช้ w แทน v เช่น divya = ทิวยะ ใช้เป็น diwya
        - v ที่มี a ตามหลัง และเป็นพยางค์ท้ายของคำ บางครั้งจะตัด a ที่ตามมาออก แล้วเปลี่ยน v เป็น o เช่น deva ตัด a ท้ายคำออก เป็น "dev" แล้วเปลี่ยน v เป็น o เป็น deo

เสียงสระ

อักษรโรมันอักษรไทยอักษรเทวนาครีตัวอย่าง
อักษรโรมันทับศัพท์
(แบบคงรูป)
ทับศัพท์
(แบบปรับรูป)
ภาษาไทยใช้
A
 a (เมื่อไม่ได้อยู่ท้ายคำ) अ nar นร นระ นร, นระ, นรา
 a (เมื่อตามด้วยพยัญชนะที่ไม่มีสระ
 ตามมา และไม่ใช่พยางค์สุดท้าย)
 –ฺ
 แบบคงรูป[1]
 ไม่ปรากฏรูป samrāṭ สมฺราฏฺ สัมราฏ
 –ั
 แบบปรับรูป[2]
 a (เมื่ออยู่ท้ายคำ) –ะ ไม่ปรากฏรูป puṇya ปุณฺย ปุณย บุณย์
 ā –า आ Nārāyaṇ นยณ นยณะ นยณ์
 ai[3] ไ– ऐ kailās กลาส กลาสะ กรลาส, กลาส
 āī[# 1] –าย, –าอี आई kasturbāī กสฺตุรฺบาย, กสฺตุรฺบาอี กัสตุรบาย, กัสตุรบาอี
 au[4] เ–า औ gaurav รว รวะ รพ
E
 e เ– ए dev ทว ทวะ ทวะ, ทวา, ทพ
I
 i –ิ इ Śiv ศิ ศิวะ ศิวะ
 ī[5] –ี ई nārī นารี นารี นารี
 iā[# 1] เ–ีย, –ยา इआ Kāṭhvāṛ กาเฐียวารฺ, กาฐยาวารฺ กาเฐียวาร, กาฐยาวาร
O
 o โ– ओ lok ลก ลกะ ลก, ลกา
 o (เมื่อตามหลังสระ) ว व deo เท เท เทะ, เทา, เทพ
 Rao, Rāo ราวฺ รา
U
 u –ุ उ guru คุรุ คุรุ คุรุ, ครู
 u[# 1] –ุ[6] उ Kutubminār กุตุบฺมินารฺ กุตุบมินาร์
 ū[7] –ู ऊ pūrṇ ปูรฺณ ปูรณะ บูรณ์
R
 ṛ (เมื่ออยู่ต้นคำหรือตามหลังพยัญชนะ)[8] ฤ ॠ pit ปิตฺ ปิต
 ṣi ษิ ษิ ษี, ฤๅษี
หมายเหตุ
  1. 1 2 3 สระนอกระบบ
  1. เครื่องหมายพินทุใส่ใต้พยัญชนะหลังสระ a ในคำทับศัพท์แบบคงรูป
  2. ยกเว้นพยัญชนะที่ตามมาเป็น h, v ไม่ต้องเปลี่ยนเป็นไม้หันอากาศ เช่น brahm = พรหมะ gaurav = เคารวะ Navaya = นวยะ และถ้าพยัญชนะที่ตามมาเป็น r ให้ใช้ "รร" เช่น karm = กรรมะ gandharv = คันธรรวะ
  3. บางครั้งมีผู้ใช้ y แทน ai เช่น Faizābād = ไฟซาบาด ใช้เป็น Fyzābād, Haiderābād = ไฮเดอราบาด ใช้เป็น Hyderābād และบางครั้งก็ใช้ ai แทน ay เช่น jay = ชยะ ใช้เป็น jai
  4. บางครั้งมีผู้ใช้ ow แทน au เช่น cauk = เจาก์ ใช้เป็น chowk
  5. บางครั้งมีผู้ใช้ ee แทน ī เช่น Mīra = มีรา ใช้เป็น Meerā, Nīra = นีรา ใช้เป็น Nee
  6. มีบางคำออกเสียง "อะ" เช่น Mog̱ul = โมคัล Trivandrum = ตริวันดรัม
  7. บางครั้งมีผู้ใช้ oo แทน ū เช่น Mūl = มูล ใช้เป็น Mool, Pūna = ปูนา ใช้เป็น Poo
  8. บางครั้งมีผู้ใช้ ri แทน ṛ เช่น pit = ปิตฤ ใช้เป็น pitri

ใกล้เคียง

การทัพนอร์เวย์ การทัพกัลลิโพลี การทัพมาลายา การทับศัพท์ การทัพปราบตั๋งโต๊ะ การทัพหมู่เกาะโซโลมอน การทัพตามแนวชายแดนจีน-พม่า การทัพอัลอันฟาล การทัพปราบอ้วนสุด การทัพกัวดัลคะแนล