ความเป็นมา ของ การนับระยะปลอดภัย

การพัฒนาของวิธีอิงปฏิทิน

ไม่มีใครรู้ว่าการทำนายช่วงเจริญพันธุ์และไม่เจริญพันธุ์ของผู้หญิงถูกค้นพบเมื่อใด คัมภีร์ตัลมุดบันทึกว่าผู้หญิงสามารถตั้งท้องเฉพาะช่วงหนึ่งของเดือนเท่านั้นซึ่งน่าจะหมายถึงช่วงตกไข่ ใน พ.ศ. 931 ออกัสตินแห่งฮิปโปเขียนเกี่ยวกับการงดเป็นช่วง เพื่อหลีกเลี่ยงการตั้งครรภ์[3]

ใน พ.ศ. 2448 นักนรีเวชวิทยาชาวดัช Theodoor Hendrik van de Velde แสดงให้เห็นว่าผู้หญิงตกไข่เพียงหนึ่งครั้งต่อรอบประจำเดือน[4] ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1920 นักนรีเวชวิทยาชาวญี่ปุ่น Kyusaku Ogino และ Hermann Knaus ชาวออสเตรีย ต่างค้นพบว่าการตกไข่เกิดขึ้นประมาณ 14 วันก่อนประจำเดือนรอบต่อไป[5] Ogino ใช้การค้นพบของเขาเพื่อพัฒนาสูตรสำหรับช่วยเหลือผู้หญิงที่มีลูกยาก โดยให้คำนวนเวลาในการมีเพศสัมพันธ์เพื่อเพิ่มโอกาสการตั้งครรภ์ ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1930 แพทย์โรมันคาทอลิกจากเนเธอร์แลนด์ ใช้การค้พบนี้เพื่อสร้างวิธีเพื่อหลีกเลี่ยง การตั้งครรภ์[5]

ใกล้เคียง

การนับระยะปลอดภัย การนัดหยุดเรียนเพื่อภูมิอากาศ การนั่งสมาธิ การนัดหยุดงานของสมาคมอาชีพนักเขียนแห่งอเมริกา ค.ศ. 2007–2008 การนับรวมทุกกลุ่มคน การนับ การนับถอยหลัง การนับจำนวนเซลล์เม็ดเลือด การนั่ง การนัดหยุดงานทั่วไป

แหล่งที่มา

WikiPedia: การนับระยะปลอดภัย http://www.contraceptivetechnology.com/table.html http://www.fertilityfriend.com/Faqs/A_brief_histor... http://www.fertilityfriend.com/HelpCenter/FFBook/f... http://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S... http://brown.edu/Student_Services/Health_Services/... //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/10500511 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/17314078 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/1755469 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/19041435 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/59854