ประวัติ ของ การบำบัดตาเหล่ด้วยชีวพิษโบทูลินัม

แอลัน สก็อตต์ เป็นบุคคลแรกที่ฉีดโบทูลินั่ม ท็อกซิน เข้าในกล้ามเนื้อตาตั้งแต่ต้นคริสต์ทศวรรษ 1970[2]และได้ตีพิมพ์ผลงานในปี พ.ศ. 2524[18]ซึ่งเป็นงานวิจัยทางคลินิกแรกในเรื่องนี้

ส่วนผลของการฉีด Bupivacaine เข้าที่กล้ามเนื้อตา ปรากกฎเป็นครั้งแรกเพราะเป็นเหตุให้เกิดตาเหล่หลังผ่าตัด โดยเป็นภาวะแทรกซ้อนของการผ่าตัดต้อกระจก เนื่องจากความเป็นพิษต่อกล้ามเนื้อของ Bupivacaine ที่ใช้เป็นยาชาเฉพาะที่ และฉีดเข้าในกล้ามเนื้อตาโดยบังเอิญ

ใกล้เคียง

การบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม การบำบัดน้ำเสียอุตสาหกรรม การบำบัดด้วยออกซิเจนแบบผสมอากาศอัตราการไหลสูง การบำบัดตาเหล่ด้วยชีวพิษโบทูลินัม การบำบัดด้วยการจับยึดนิวตรอน การบำบัดด้วยการรู้อาศัยสติ การบําบัดโดยพืช การบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้ การบำรุงรักษา การบำรุงความงามของสมเด็จพระจักรพรรดินีเอลิซาเบธแห่งออสเตรีย

แหล่งที่มา

WikiPedia: การบำบัดตาเหล่ด้วยชีวพิษโบทูลินัม //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC1312202 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2814569 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3297039 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/14560837 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/17763254 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/18033607 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/18401298 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/18672599 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/20126486 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/20451851