เทคนิค ของ การบำบัดตาเหล่ด้วยชีวพิษโบทูลินัม

การฉีดยา

หลังจากให้ยาชาหรือยาสลบ แพทย์จะฉีดโบทูลินั่ม ท็อกซิน เข้าไปในกล้ามเนื้อตาที่เป็นเป้าหมาย โดยใช้อิเล็กโทรดแบบเข็มที่ต่อกับเครื่อง electromyography (EMG) ซึ่งใช้เป็นเครื่องนำทาง และต่อกับเข็มฉีดโบทูลินั่ม ท็อกซิน[2]

ถ้าใช้ยาชาเฉพาะที่ แพทย์จะให้คนไข้ขยับตาก่อนฉีดท็อกซินซึ่งทำให้เกิดสัญญาณ EMG และชี้บอกจุดวางเข็มที่ถูกต้องถ้าคนไข้เป็นเด็กเล็ก ๆ แพทย์จะวางยาสลบ[2]จะใช้เพียงแค่ 1-2 นาทีในการฉีดยาถ้าแพทย์พยาบาลมีประสบการณ์เพียงพอ[2]

ขนาดยา

ขนาดยาที่ใช้ไม่สามารถกำหนดได้อย่างแม่นยำ เพราะยังไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างขนาดยาและผลที่ได้[1]พิษของยาจะต่าง ๆ กันนอกจากนั้นแล้ว ร่างกายอาจจะเกิดปฏิกิริยาทางภูมิคุ้มกัน ที่ลดประสิทธิภาพของการรักษาครั้งต่อ ๆ ไป[2]

ใกล้เคียง

การบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม การบำบัดน้ำเสียอุตสาหกรรม การบำบัดด้วยออกซิเจนแบบผสมอากาศอัตราการไหลสูง การบำบัดตาเหล่ด้วยชีวพิษโบทูลินัม การบำบัดด้วยการจับยึดนิวตรอน การบำบัดด้วยการรู้อาศัยสติ การบําบัดโดยพืช การบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้ การบำรุงรักษา การบำรุงความงามของสมเด็จพระจักรพรรดินีเอลิซาเบธแห่งออสเตรีย

แหล่งที่มา

WikiPedia: การบำบัดตาเหล่ด้วยชีวพิษโบทูลินัม //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC1312202 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2814569 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3297039 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/14560837 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/17763254 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/18033607 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/18401298 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/18672599 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/20126486 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/20451851