วิธีการทางพันธุวิศวกรรม ของ การบำบัดสารมลพิษทางชีวภาพ

การใช้วิธีการทางพันธุวิศวกรรมในการสร้างสิ่งมีชีวิตที่มีความจำเพาะสำหรับการบำบัดสารมลพิษทางชีวภาพ[4]แบคทีเรียDeinococcus radiodurans (ความต้านทานรังสี) มีการแก้ไขเพื่อใช้และย่อยโทลูอีน และไอออนิก ปรอทจากการกระตุ้นรังสีนิวเคลียร์ของของเสีย[5]

การใช้ฟังไจเพื่อกำจัดของเสีย เป็นรูปแบบการบำบัดสารมลพิษทางชีวภาพด้วยการใช้ฟังไจในการขจัดสารปนเปื้อน Mycoremediation

ตัวอย่าง mycelium

การใช้ฟังไจเพื่อกำจัดของเสียหมายถึง ลักษณะเฉพาะในการใช้เห็ดรา mycelia ในการบำบัดสารมลพิษทางชีวภาพสิ่งหนึ่งที่เป็นหลักพื้นฐานของฟังไจในระบบนิเวศ คือการย่อยสลายที่ดำเนินการโดย mycelium ซึ่งจะหลั่งเอนไซม์และกรดออกมาภายนอกเซลล์เพื่อย่อยสลายลิกนินและเซลลูโลสซึ่งเป็นสองส่วนประกอบหลักในเส้นใยพืช สารประกอบอินทรีย์เหล่านี้เป็นสายโซ่ยาวของคาร์บอน และไฮโดรเจนซึ่งโครงสร้างคล้ายสารประกอบอินทรีย์ที่เป็นสารมลพิษอื่นๆ

ส่วนสำคัญของการใช้ฟังไจเพื่อกำจัดของเสียเป็นตัวกำหนดสปีชีส์ที่เหมาะสมของเชื้อราในการเป็นเป้าหมายที่มีความจำเพาะของสารมลพิษบางสายพันธุ์มีรายงานการประสบความสำเร็จในการลดค่า VX และ sarin หนึ่งขั้นตอนการทดลองที่กำหนดโดยการปนเปื้อนของดินจากน้ำมันดีเซลด้วยเชื้อ mycelia จากเห็ดซึ่งรูปแบบเดิมของเทคนิคการบำบัดสารมลพิษทางชีวภาพ (bacteria) เป็นการใช้แบบควบคุมหลังจากสี่สัปดาห์มากกว่า 95% ของ PAH มีการรีดิวซ์ส่วนประกอบที่ปลอดสารพิษในเชื้อ mycelia ซึ่งปรากฏในธรรมชาติของกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ฟังไจในการย่อยสลายสารปนเปื้อนในส่วนสุดท้ายจะได้คาร์บอนไดออกไซด์และน้ำ ฟังไจที่ย่อยสลายเนื้อไม้โดยเฉพาะจะมีผลในการย่อยสลายอะโรมาติกของสารมลพิษ (ส่วนประกอบที่เป็นพิษของปิโตรเลียม และสารประกอบคลอรีน Battelle, 2000)

ใกล้เคียง

การบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม การบำบัดน้ำเสียอุตสาหกรรม การบำบัดด้วยออกซิเจนแบบผสมอากาศอัตราการไหลสูง การบำบัดด้วยการจับยึดนิวตรอน การบำบัดตาเหล่ด้วยชีวพิษโบทูลินัม การบำบัดด้วยการรู้อาศัยสติ การบําบัดโดยพืช การบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้ การบำรุงรักษา การบำรุงความงามของสมเด็จพระจักรพรรดินีเอลิซาเบธแห่งออสเตรีย