การประชุมผู้บัญชาการทหารอากาศอาเซียน ของ การประชุมผู้บัญชาการทหารสูงสุดอาเซียน

การประชุมผู้บัญชาการทหารอากาศอาเซียน
ASEAN Air Chiefs' Conference
สถานะดำเนินการ
ประเภทการประชุมทางการทหาร
ความถี่ประจำปี
ที่ตั้งหมุนเวียนการเป็นเจ้าภาพในประเทศสมาชิกอาเซียน
ประเดิมพ.ศ. 2547 (อายุ 20 ปี)
เจ้าภาพครั้งแรก กองทัพอากาศไทย
ล่าสุด20th AACC (พม่า)
12–15 กันยายน 2566
เหตุการณ์ก่อนหน้า19th AACC (ลาว)
3–6 พฤศจิกายน 2565
เหตุการณ์ถัดไป21th ANCM (กัมพูชา)
ผู้เข้าร่วม
จัดโดยสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

การประชุมผู้บัญชาการทหารอากาศอาเซียน (ASEAN Air Chiefs' Conference: AACC) เป็นกิจกรรมทางทหารของประเทศสมาชิกอาเซียน จัดขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2547[41][42] โดยกองทัพอากาศไทยเป็นเจ้าภาพในการจัดงาน ซึ่งหลังจากนั้นกองทัพอากาศในชาติสมาชิกอาเซียนได้หมุนเวียนกันเป็นเจ้าภาพในการจัดการประชุม[41]

ประเทศเจ้าภาพและหัวข้อ

การประชุมผู้บัญชาการทหารอากาศอาเซียน ประกอบไปด้วยประเทศเจ้าภาพและหัวข้อในการประชุม ดังนี้

ค.ศ. (พ.ศ.)เจ้าภาพหัวข้อการประชุม
12004 (2547) ไทย
22005 (2548) มาเลเซีย
32006 (2549) อินโดนีเซีย
42007 (2550) ฟิลิปปินส์
52008 (2551) สิงคโปร์
62009 (2552) บรูไน
72010 (2553) เวียดนาม
82011 (2554) ไทยการเสริมสร้างความร่วมมือ เพื่อก้าวไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี ค.ศ.2015 (Strengthening Security Cooperation of ASEAN Air Forces towards ASEAN Community 2015)[41]
92012 (2555) มาเลเซียส่งเสริมความร่วมมมือด้านความมั่นคงระหว่างกองทัพอากาศของประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อมุ่งสู่การสร้างสรรค์ประชาคมอาเซียนในปี 2015[43]
102013 (2556) ลาวPartners for Peace and Development: Humanitarian Assistance and Disaster Relief[44][45]
112014 (2557) พม่าความร่วมมือด้านการป้องกันประเทศเพื่อให้เกิดสันติภาพ และความรุ่งเรืองต่อประชาคมอาเซียน (Defence Cooperation towards Peaceful and Defence Cooperation towards Peaceful and Prosperous ASEAN Community)[46]
122015 (2558) กัมพูชาความร่วมมือและการประสานงาน ในการรักษาเสถียรภาพในภูมิภาค[47] (Cooperation and Coordination to Maintain Regional Stability)
132016 (2559) อินโดนีเซีย
142017 (2560) ฟิลิปปินส์ASEAN Air Forces: Partnering for change, Jointly Engaging for Greater Peace and Security[48]
152018 (2561) สิงคโปร์การเสริมสร้างมิตรภาพที่เข้มแข็งและเพิ่มพูนความมั่นคงในภูมิภาค (Strengthening Friendships and Enhancing Regional Security)[49]
162019 (2562) บรูไนElevating ASEAN Solidary Through Practical Cooperation[50]
172020 (2563) เวียดนาม (ออนไลน์)กองทัพอากาศอาเซียน : สามัคคีปรองดองและตอบสนองทันท่วงที (ASEAN Air Force : Cohesive and Responsive)[51]
182021 (2564) ไทย (ออนไลน์)ระดมสรรพกำลังและขีดความสามารถ พร้อมกับความร่วมมือระหว่างกันในระดับสูงสุด ในการต่อสู้กับความท้าทายรูปแบบใหม่ (Optimizing Capabilities and Cooperation against New Challenges)[52]
192022 (2565) ลาวTogether for Peace and Stability in ASEAN[53][54]
202023 (2566) พม่าความร่วมมือของกองทัพอากาศอาเซียนเพื่อสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน (ASEAN Air Forces’ Cooperation for Sustainable Environment)[55]
212024 (2567) กัมพูชา[56]

ใกล้เคียง

การประท้วงในประเทศไทย พ.ศ. 2563–2564 การปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยง การปรับอากาศรถยนต์ การประกวดความงาม การปรับตัว (ชีววิทยา) การประมาณราคา การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติ การประเมินตัวเองหลัก (จิตวิทยา) การประกันภัย การประกวดเพลงยูโรวิชัน

แหล่งที่มา

WikiPedia: การประชุมผู้บัญชาการทหารสูงสุดอาเซียน https://2023rtarf.rtarf.mi.th/index.php/th/2016-06... https://2023rtarf.rtarf.mi.th/index.php/th/2016-06... https://j2.rtarf.mi.th/J2RTARF/wp-content/uploads/... https://admm.asean.org/dmdocuments/2020_Dec_14th%2... https://www.dasingapore.navy.mi.th/index.php/main/... https://www.dasingapore.navy.mi.th/index.php/main/... https://en.vietnamplus.vn/asean-chiefs-of-defence-... https://th.hepingshijie.com/archives/14945 https://www.khaosod.co.th/around-thailand/news_230... https://vovworld.vn/th-TH/%E0%B8%82%E0%B8%B2%E0%B8...