เชิงอรรถและอ้างอิง ของ การปรับภาวะให้เกิดความกลัว

  1. "ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ conditioning ว่า "การปรับภาวะ"
  2. Maren, Stephen (2001). "Neurobiology of Pavlovian fear conditioning". Annual Review of Neuroscience. 24: 897–931. doi:10.1146/annurev.neuro.24.1.897. PMID 11520922.
  3. การตอบสนองของผิวหนังโดยการนำกระแสไฟ (galvanic skin response) เป็นวิธีการวัดการนำกระแสไฟฟ้าของผิวหนัง ซึ่งมีค่าต่าง ๆ กันไปขึ้นอยู่กับความชื้นของผิว นี่เป็นสิ่งที่น่าสนใจเพราะว่า ต่อมเหงื่ออยู่ใต้การบังคับของระบบประสาทซิมพาเทติก ดังนั้น การนำกระแสไฟฟ้าของผิวสามารถใช้เป็นเครื่องบ่งถึงความตื่นตัวทางจิตและทางกายภาพ
  4. fear potentiated startle เป็นการตอบสนองแบบรีเฟล็กซ์ทางกายภาพต่อตัวกระตุ้นที่ปรากฏ ซึ่งเป็นตัวชี้บอกปฏิกิริยาที่ประกอบด้วยความกลัวในสิ่งมีชีวิต ปฏิกิริยานี้เกิดได้เนื่องจากตัวกระตุ้นอะไรก็ได้ที่น่ากลัว เช่นจะเป็นวัตถุ หรือบุคคล หรือสถานการณ์ที่ทำให้สัตว์ประสบกับความรู้สึกกลัว แต่ในการทดลอง มักจะใช้เสียง เช่นเสียงดัง หรือแสง เช่นแสงสว่างมาก และวัดปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นโดยอัตราการเต้นของหัวใจ
  5. Bromberg, Philip M. (2003). "Something wicked this way comes: Trauma, dissociation, and conflict: The space where psychoanalysis, cognitive science, and neuroscience overlap". Psychoanalytic Psychology. 20 (3): 558–74. doi:10.1037/0736-9735.20.3.558.
  6. Rosen, Jeffrey B.; Schulkin, Jay (1998). "From normal fear to pathological anxiety". Psychological Review. 105 (2): 325–50. doi:10.1037/0033-295X.105.2.325. PMID 9577241.
  7. LeDoux, Joseph (1996). The Emotional Brain: The Mysterious Underpinnings of Emotional Life. New York: Simon & Schuster.
  8. Acetophenone เป็นสารอินทรีย์ประกอบ (organic compound) มีสูตรเคมี C6H5C (0) CH3 เป็นคีโตนแบบ aromatic ที่ง่ายที่สุด เป็นของเหลวไม่มีสี เป็นสารตั้งต้นของเรซินและน้ำหอม
  9. Dias, B. G. & Ressler, K. J. (2013) . Parental olfactory experience influences behavior and neural structure in subsequent generations. Nature Neuroscience, Dec 01, 2013. PMID 24292232 (Retrieved December 21, 2013)

ใกล้เคียง

การประท้วงในประเทศไทย พ.ศ. 2563–2564 การปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยง การปรับอากาศรถยนต์ การประกวดความงาม การปรับตัว (ชีววิทยา) การประมาณราคา การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติ การประเมินตัวเองหลัก (จิตวิทยา) การประกันภัย การประกวดเพลงยูโรวิชัน