การปะทุของภูเขาไฟกรากะตัว_ค.ศ._1883
การปะทุของภูเขาไฟกรากะตัว_ค.ศ._1883

การปะทุของภูเขาไฟกรากะตัว_ค.ศ._1883

การปะทุของภูเขาไฟกรากะตัว ค.ศ. 1883 ในหมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ (หรือปัจจุบันคืออินโดนีเซีย) เริ่มต้นในวันอาทิตย์ 26 สิงหาคม 1883 (ซึ่งมีต้นกำเนิดตั้งแต่เดือนพฤษภาคมของปีนั้น) และรุนแรงที่สุดเมื่อวันจันทร์ที่ 27 สิงหาคม เมื่อ 70% ของเกาะและหมู่เกาะที่อยู่รอบ ๆ ได้ถูกทำลายเป็นแอ่งยุบปากปล่อง และกิจกรรมเกี่ยวกับแผ่นดินไหวยังถูกรายงานว่าดำเนินการต่อจนถึงกุมภาพันธ์ 1884 ถึงแม้ว่าการรายงานภายหลังถูกยกเลิกโดย Rogier Verbeek หลังจากทำการสำรวจการปะทุ การปะทุครั้งนี้ถือว่าเป็นการปะทุภูเขาไฟที่มีการเสียชีวิตมากที่สุดและเป็นอันตรายที่สุดเท่าที่บันทึกไว้ในประวัติศาสตร์ อย่างน้อย 36,417 คนได้เสียชีวิตจากการปะทุและมีการเกิดสึนามิหลังจากการปะทุอีกด้วย นอกจากนี้ผลกระทบเพิ่มเติมที่สำคัญก็ยังรู้สึกรอบโลกในหลายวันและหลายสัปดาห์หลังจากการปะทุของภูเขาไฟ

การปะทุของภูเขาไฟกรากะตัว_ค.ศ._1883

ประเภท การปะทุแบบพลิเนียน
ผลกระทบ การปะทุครั้งสุดท้ายสามารถได้ยินไกลถึง 4,830 กม, ทำให้คนตายอย่างน้อย 36,417 คน; กำมะถันจำนวน 20 ล้านตันปล่อยในบรรยากาศ; ทำให้เกิดฤดูหนาวจากภูเขาไฟ (ลดอุณหภูมิทั่วโลก แม่แบบ:Convert/C-change เป็นจำนวน 5 ปี)
ระดับ 6
ภูเขาไฟ ภูเขาไฟกรากะตัว
สถานที่ หมู่เกาะกรากะตัว, ช่องแคบซุนดา, หมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์
6°06′07″S 5°25′23″E / 6.102°S 5.423°E / -6.102; 5.423พิกัดภูมิศาสตร์: 6°06′07″S 5°25′23″E / 6.102°S 5.423°E / -6.102; 5.423
วันที่ 26–27 สิงหาคม 1883

ใกล้เคียง

การปะทะที่บางกลอย พ.ศ. 2535 การปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ พ.ศ. 2553 การปะทุของภูเขาไฟฮูงาโตงาและคลื่นสึนามิ พ.ศ. 2565 การปะทะตามแนวชายแดนพม่า พ.ศ. 2553–2554 การปะทะที่มัสยิดอัลอักศอ พ.ศ. 2566 การปะทุลิมนิก การปะทุของเขามาราปี พ.ศ. 2566 การปะทุของภูเขาไฟบนเกาะลาปัลมา พ.ศ. 2564 การปะทะที่บาเจาะ พ.ศ. 2556 การปะทุแบบพลิเนียน