มูลฐานทางสรีรภาพ ของ การรับมือ_(จิตวิทยา)

ฮอร์โมนอาจมีบทบาทในการบริหารความเครียดฮอร์โมนความเครียดคือคอร์ติซอล พบว่าเพิ่มขึ้นในชายในสถานการณ์ที่ก่อความเครียดแต่ว่าในหญิง ระดับฮอร์โมนกลับลดลง แต่สมองส่วนระบบลิมบิกทำงานเพิ่มขึ้นนักวิจัยจำนวนมากเชื่อว่า ผลเช่นนี้เป็นเหตุที่ชายมีปฏิกิริยาสู้หรือหนี (fight-or-flight) ต่อความเครียดเทียบกับหญิงที่มีปฏิกิริยาดูแลลูกและหาเพื่อน (tend-and-befriend)[29]เพราะปฏิกิริยาสู้หรือหนีทำให้ระบบประสาทซิมพาเทติกทำงาน มีผลเป็นการเพิ่มระดับสมาธิและอะดรีนาลีน (อีพิเนฟริน) และนัยตรงกันข้ามปฏิกิริยาดูแลลูกและหาเพื่อนหมายถึงความโน้มเอียงที่หญิงจะปกป้องลูกและญาติแม้ว่าพฤติกรรมเหล่านี้จะสนับสนุนทฤษฎีทางพันธุกรรม แต่ไม่ควรเข้าใจว่า โดยทั่วไปแล้ว หญิงจะไม่มีปฏิกิริยาสู้หรือหนี หรือว่าชายจะไม่มีพฤติกรรมดูแลลูกและหาเพื่อน

ใกล้เคียง

การรับรู้รส การรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย การรับรู้อากัปกิริยา การรักษาสันติภาพของสหประชาชาติ การรับรู้ไฟฟ้า การรักษามะเร็งแบบทางเลือก การรับรู้สนามแม่เหล็ก การรับมือโดยใช้อารมณ์ (จิตวิทยา) การรัดเท้า การรับรู้ความใกล้ไกล

แหล่งที่มา

WikiPedia: การรับมือ_(จิตวิทยา) http://www.perthbraincentre.com.au/anxiety-strateg... http://www.lfcc.on.ca/HCT_SWASM_18.html http://www.enotes.com/science-religion-encyclopedi... http://books.google.com/books?id=NfCDR_Yl7f0C&pg=P... http://www.stress-treatment-21.com/coping-strategi... //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC1974871 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/17873968 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/18425659 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/19572784 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/21424944