การรุกวิสตูลา–โอเดอร์
การรุกวิสตูลา–โอเดอร์

การรุกวิสตูลา–โอเดอร์


หรือ
เสียชีวิต 41,805 นาย
สูญหาย 68,515 นาย
ได้รับบาดเจ็บ 146,368 นาย[4][5]ค.ศ. 1942ค.ศ. 1943ค.ศ. 1944ค.ศ. 1945การสงครามทางเรือ:การรุกวิสตูลา-โอเดอร์ เป็นการรุกที่ประสบความสำเร็จของกองทัพแดงใน แนวรบด้านตะวันออก และสงครามโลกครั้งที่สองในยุโรปในเดือนมกราคมปี 1945 โดยที่กองทัพแดงสามารถปลดปล่อยกรากุฟ, กรุงวอร์ซอ และ พอซนานกองทัพแดงได้สร้างความแข็งแกร่งให้กับหัวสะพานสำคัญหลายแห่งโดยมีจอมพล เกออร์กี จูคอฟ และจอมพล อีวาน โคเนฟ เป็นผู้บัญชาการ ตรงกันข้ามกับ กลุ่มกองทัพเยอรมันเอที่นำโดยพลเอก โจเซฟ ฮาร์เบ (ในไม่ช้าก็ถูกแทนที่ด้วยพลเอกแฟร์ดีนันท์ เชอร์เนอร์) ซึ่งมีจำนวนมากกว่า 5: 1 ภายในไม่กี่วัน ผู้บัญชาการเยอรมันได้สั่งอพยพค่ายกักกัน และส่งผู้ต้องขังไปทางตะวันตก โดยที่ชาวเยอรมันเริ่มหนีเช่นกัน ในเวลาน้อยกว่าสองสัปดาห์ กองทัพแดงรุกได้ถึง 300 ไมล์ (483 กม.) จากวิสตูลาไปยังโอเดอร์ เพียง 43 ไมล์ (69 กม.) จะถึงกรุงเบอร์ลินที่ไม่ได้รับการป้องกัน แต่จูคอฟสั่งให้หยุดการโจมตีเนื่องจากการต่อต้านโดยเยอรมันอย่างต่อเนื่องในทางด้านเหนือ (พอเมอเรเนีย) และการรุกหน้าสู่กรุงเบอร์ลินจะต้องล่าช้าออกไปจนถึงเดือนเมษายน

การรุกวิสตูลา–โอเดอร์

วันที่สถานที่ผลลัพธ์
วันที่12 มกราคม– 2 กุมภาพันธ์ 1945
สถานที่โปแลนด์ตอนกลาง และ ทางตะวันออกของเยอรมนี
ผลลัพธ์ฝ่ายสัมพันธมิตรได้รับชัยชนะเด็ดขาด
สถานที่ โปแลนด์ตอนกลาง และ ทางตะวันออกของเยอรมนี
ผลลัพธ์ ฝ่ายสัมพันธมิตรได้รับชัยชนะเด็ดขาด
วันที่ 12 มกราคม– 2 กุมภาพันธ์ 1945

ใกล้เคียง

การรุกรานยูเครนโดยรัสเซีย การรุกของตอลิบาน พ.ศ. 2564 การรุกรานญี่ปุ่นของมองโกล การรุกที่เคียฟ พ.ศ. 2565 การรุกรานไซปรัสของตุรกี การรุกรานรัสเซียโดยฝรั่งเศส การรุกคอร์ซุน-เชฟเชนคอฟสกี การรุกรานอิหร่านของบริเตนและสหภาพโซเวียต การรุกตรุษญวน การรุกรานรัสเซียโดยสวีเดน