เบื้องหลัง ของ การลงประชามติว่าด้วยสถานภาพของมายอต_พ.ศ._2552

เชื่อกันว่าหนึ่งในสามของประชากรมายอตเป็นผู้เข้าเมืองผิดกฎหมาย ซึ่งส่วนใหญ่มาจากประเทศเพื่อนบ้านที่ยากจน หมู่เกาะคอโมโรส[6] การรวมกลุ่มเป็นสหภาพการเมืองกับฝรั่งเศสทำให้มายอตยังค่อนข้างมั่งคั่งอยู่ อย่างน้อยก็เมื่อเปรียบกับมาตรฐานในภูมิภาค เมื่อเปรียบเทียบกับคอโมโรสที่เป็นเอกราช[6] คอโมโรสประสบกับความไร้เสถียรภาพทางเศรษฐกิจและการเมืองนับตั้งแต่ได้รับเอกราช และยังคงอ้างสิทธิ์เหนือมายอตว่าเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของตน[6]

ประธานาธิบดีฝรั่งเศส นีกอลา ซาร์กอซี สัญญาว่าจะจัดการลงประชามติกำหนดสถานภาพในอนาคตของมายอตระหว่างการเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศส ค.ศ. 2007[6]

ชาวมายอตจำนวนมากหวังที่จะได้รับประโยชน์ทางเศรษฐกิจในอนาคตจากการลงมติเห็นชอบในการเลื่อนฐานะดังกล่าว อัตราการว่างงานในมายอตอยู่ที่มากกว่า 25% ในเวลาที่มีการลงประชามติ พ.ศ. 2552 ดังกล่าว[6]

ใกล้เคียง

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย การลงจอด การลงคะแนนเสียงในสวิตเซอร์แลนด์ การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2566 การลงประชามติว่าด้วยสมาชิกภาพสหภาพยุโรปของสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2559 การลงคะแนนแบบคะแนนเสียงที่เหนือกว่า การลงคะแนนแบบจัดลำดับ การลงประชามติแยกซูดานใต้เป็นเอกราช พ.ศ. 2554 การลงประชามติแยกเป็นเอกราช การลงประชามติประมวลกฎหมายครอบครัวคิวบา พ.ศ. 2565

แหล่งที่มา

WikiPedia: การลงประชามติว่าด้วยสถานภาพของมายอต_พ.ศ._2552 http://www.afriquejet.com/news/africa-news/comoran... http://www.france24.com/en/20090328-mayotte-france... http://www.france24.com/en/20090329-mayotte-set-be... http://www.lagazettedescommunes.com/actualite/3207... http://www.lefigaro.fr/flash-actu/2009/03/29/01011... http://www.malango.fr/resultats_referendum_mayotte... http://news.bbc.co.uk/1/hi/world/europe/7970450.st... http://www.telegraph.co.uk/news/worldnews/africaan... https://web.archive.org/web/20090202131844/http://...