อ้างอิงและเชิงอรรถ ของ การสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์

  1. ปรามินทร์ เครือทอง. (2545). สำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์. กรุงเทพฯ : มติชน. หน้า 89.
  2. ชลันธร คิดถาง. (2547). กฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. 127 โดยยอร์ช ปาดู กับสังคมไทย. วิทยานิพนธ์ตามหลักสูตรปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาฝรั่งเศสศึกษา ภาควิชาฝรั่งเศส บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
  3. 1 2 3 4 5 6 กฎหมายตราสามดวง. (2481). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง (จัดพิมพ์).
  4. มาตรานี้ อาจจัดวรรคตอนอย่างปัจจุบันได้ดังนี้
    "ถ้าแลโทษหนักถึงสิ้นชีวิตไซร้ ให้ส่งแก่ทะลวงฟันหลังแลนายแวงหลังเอาไปมล้างในโคกพญา
    นายแวงนั่งทับตักขุนดาบ ขุนใหญ่ไปนั่งดู หมื่นทะลวงฟันกราบ 3 คาบ ตีด้วยท่อนจันทน์แล้วเอาลงขุม
    นายแวงทะลวงฟันผู้ใดเอาผ้าทรงแลแหวนทองโทษถึงตาย
    เมื่อตีนั้นเสื่อขลิบเบาะรอง"
  5. 1 2 ปรามินทร์ เครือทอง. (2545). สำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์. กรุงเทพฯ : มติชน. หน้า 6-7.
  6. กฎหมายเมืองไทย เล่ม 2. (จุลศักราช 1258). กรุงเทพฯ : ดี.บี. บรัดเล (จัดพิมพ์)
  7. 1 2 พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา เล่ม 1. (2516). กรุงเทพฯ : คลังวิทยา. หน้า 449.
  8. ปรามินทร์ เครือทอง. (2545). สำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์. กรุงเทพฯ : มติชน. หน้า 14-16.
  9. 1 2 ราชบัณฑิตยสถาน. (ม.ป.ป.). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:http://rirs3.royin.go.th/dictionary.asp. (เข้าถึงเมื่อ: 28 มิถุนายน 2551).
  10. มาตรา 175 นี้ ถอดเป็นภาษาปัจจุบันได้ว่า "ในการกำกับผู้ต้องโทษไปนั้น ถ้ามีเรือของผู้ใดเข้าไปยังเรือกำกับผู้ต้องโทษอันนายแวงควบคุมอยู่ ไม่ว่าเจ้าของเรือนั้นจะเป็นท้าวพระยาหัวเมือง เป็นมนตรีมุข หรือเป็นลูกขุนที่มีศักดินาตั้งแต่หนึ่งหมื่นไร่ถึงหกร้อยไร่ก็ตาม และไม่ว่าจะเข้าไปเพื่อส่งเสด็จผู้ต้องโทษ หรือถวายของฝากแก่ผู้ต้องโทษก็ตาม ให้นายแวงมีอำนาจจับกุมตัวบุคคลดังกล่าวไว้ได้โดยให้ถือว่าได้กระทำความผิดฐานเป็นกบฏและให้นำไปลงโทษตามกฎหมายต่อไป"
  11. ปรามินทร์ เครือทอง. (2545). สำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์. กรุงเทพฯ : มติชน. หน้า 75-77.
  12. คำให้การของ ๔ พยาน ในวันประหารพระเจ้าตาก
  13. ส.พลายน้อย. พระบรมราชินีและเจ้าจอมมารดาแห่งราชสำนักสยาม. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ:ฐานบุ๊คส์, 2554. หน้า 248-249
  14. การประหารด้วยท่อนจันทน์ครั้งสุดท้าย
  15. คำนี้ ราชบัณฑิตยสถานบัญญัติศัพท์ว่า "การปลงพระชนม์พระมหากษัตริย์" โดยเป็นศัพท์ทางนิติศาสตร์
  16. แม็กเบท (MacBeth) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งสก็อตแลนด์ โดยเป็นตัวละครในอุปรากรเรื่อง "แม็กเบท" ของวิลเลียม เชกสเปียร์ ชื่ออุปรากรนี้ภาษาไทยว่า "แม็คเบธ...ผู้ทรยศ" ดู แม็คเบ็ธ
  17. 1 2 นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2544, พฤษภาคม). ระหว่างสถาบันและองค์พระมหากษัติรย์. ศิลปวัฒนธรรม, (ปีที่ 22, ฉบับที่ 7).
  18. นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2523). การเมืองไทยสมัยพระนารายณ์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
  19. ปรามินทร์ เครือทอง. (2545). สำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์. กรุงเทพฯ : มติชน. หน้า 5.

ใกล้เคียง

การสำเร็จความใคร่ด้วยตนเอง การสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์ การสำรวจ การสำรวจดาวอังคาร การสำรวจอวกาศ การสำรวจทางชีวภาพ การสำรวจด้วยคลื่นไหวสะเทือนแบบสะท้อน การสำเร็จความใคร่แบบกลุ่มในเพศชาย การสำรวจโลมาน้ำจืดแยงซี พ.ศ. 2549 การสำรอก