การออกแบบอย่างชาญฉลาด

การออกแบบอย่างชาญฉลาด (อังกฤษ: intelligent design, ID) เป็นมุมมองทางวิทยาศาสตร์เทียม[1][2]อย่างหนึ่ง ที่มองว่า ลักษณะบางอย่างของจักรวาลและสิ่งมีชีวิต ไม่อาจมีคำอธิบายที่ดีอย่างอื่นนอกจากการที่ถูกออกแบบโดยความฉลาด และไม่ได้เกิดจากกระบวนการที่ไม่ได้รับการชี้นำ เช่น การคัดเลือกโดยธรรมชาติ[3] นักการศึกษา นักปรัชญา และวงการวิทยาศาสตร์ ได้แสดงหลักฐานให้เห็นแล้วว่าแนวคิดนี้เป็นข้อถกเถียงเชิงศาสนา โดยเป็นความเชื่อเรื่องการมีผู้สร้าง (creationism) อย่างหนึ่ง ซึ่งไม่มีหลักฐานสนับสนุน และไม่มีการเสนอสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบได้[4][5][6] ฝ่ายสนับสนุนแนวคิดนี้มองว่าแนวคิดนี้เป็น "ทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์แบบอิงหลักฐานเกี่ยวกับกำเนิดของชีวิต" ที่ท้าทายแนวคิดหลักของวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ซึ่งเชื่อเรื่องธรรมชาตินิยมเชิงกระบวนการ (methodological naturalism)

ใกล้เคียง

การออกกำลังกาย การออกกำลังกายใช้ออกซิเจน การออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2559 การออกแบบแฟชั่น การออกเสียงคำว่า GIF การออกแบบอย่างสากล การออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550 การออกแบบอย่างชาญฉลาด การออกแบบกราฟิก การออกเสียงตัวอักษรของการสื่อสารวิทยุ

แหล่งที่มา

WikiPedia: การออกแบบอย่างชาญฉลาด http://www.nature.com/nmeth/journal/v4/n12/full/nm... http://ncse.com/media/voices/science //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/21243965 http://www.centerforinquiry.net/uploads/attachment... http://www.discovery.org/csc/topQuestions.php#ques... //doi.org/10.1038%2Fnmeth1207-983 //doi.org/10.1086%2F656904 http://www.ideacenter.org/stuff/contentmgr/files/3... http://www.intelligentdesignnetwork.org/ //www.worldcat.org/issn/1548-7091