การออกแบบให้หมดอายุขัย
การออกแบบให้หมดอายุขัย

การออกแบบให้หมดอายุขัย

ในเศรษฐศาสตร์และการออกแบบอุตสาหกรรม การออกแบบให้หมดอายุขัย[2] หรือ การออกแบบให้หมดอายุก่อนวัยอันควร (อังกฤษ: planned obsolescence, built-in obsolescence หรือ premature obsolescence) เป็นนโยบายในการวางแผนหรืออกแบบผลิตภัณฑ์ให้มีอายุขัยการใช้งานที่จำกัด หรือออกแบบให้ออกมาอ่อนแอเพื่อที่จะถูกทิ้ง (obsolete) หลังจากการใช้เป็นช่วงเวลาหนึ่งที่ประเมินมาแล้ว เมื่อสิ้นสุดอายุขัยที่กำหนด ผลิตภัณฑ์อาจไม่สามารถใช้งานได้หรือตกยุค[3] วิธีคิดเบื้องหลังแผนนี้คือการสร้างปริมาตรการค้าในระยะยาวผ่านการลดทอนเวลาระหว่างการซื้อผลิตภัณฑ์ หรือที่เรียกว่า "การย่นย่อวัฏจักรการเปลี่ยนทดแทน" (shortening the replacement cycle)[4] การลดอายุขัยการใช้งานของผลิตภัณฑ์ลงโดยจงใจนำไปสู่การที่ผู้บริโภคมีความจำเป็นต้องซื้อสินค้าใหม่อยู่เรื่อย ๆ[5]การออกแบบให้หมดอายุขัยมักจะทำงานได้ดีที่สุดในกรณีที่ผู้ผลิตอย่างน้อยมีคู่แข่งน้อยรายในตลาด[6]

ใกล้เคียง

การออกกำลังกาย การออกกำลังกายใช้ออกซิเจน การออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2559 การออกแบบแฟชั่น การออกเสียงคำว่า GIF การออกแบบอย่างสากล การออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550 การออกแบบอย่างชาญฉลาด การออกแบบกราฟิก การออกเสียงตัวอักษรของการสื่อสารวิทยุ

แหล่งที่มา

WikiPedia: การออกแบบให้หมดอายุขัย http://bibliotecadigital.fgv.br/dspace/bitstream/h... http://www.autonews.com/article/20080914/OEM02/309... //ssrn.com/abstract=496175 //doi.org/10.2307%2F1884176 //www.jstor.org/stable/1884176 http://eprints.lincoln.ac.uk/2062/1/Obsolescence.p... https://themomentum.co/planned-obsolescence/ https://adaybulletin.com/know-fashion-matters-plan... https://www.lawschool.cornell.edu/research/JLPP/up... https://www.theseus.fi/bitstream/handle/10024/5552...