การเรียงลำดับแบบเลือก

ในสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ การเรียงลำดับแบบเลือก (อังกฤษ: selection sort) เป็นขั้นตอนวิธีการเรียงลำดับอย่างง่ายโดยใช้วิธีการเปรียบเทียบ ทำงานโดยการหาค่าเหมาะสมที่สุด (ค่ามากสุดหรือน้อยสุด) ที่อยู่ในรายการส่วนที่ยังไม่เรียงและนำค่าเหมาะที่สุดนั้นมาต่อท้ายของส่วนที่เรียงแล้ว ก็จะทำให้ส่วนที่เรียงแล้วมีขนาดใหญ่ขึ้นทีละหนึ่งในแต่ละรอบการทำงาน ทำเช่นนี้จนไม่มีส่วนที่ยังไม่เรียงก็เสร็จ แต่ด้วยประสิทธิภาพเมื่อเกิดกรณีทั่วไปที่ O(n2) ทำให้ไม่เหมาะที่จะใช้ในกรณีที่มีข้อมูลในรายการเป็นจำนวนมาก แต่ถ้าหากปรับปรุงการหาค่าเหมาะสมที่สุดในรายการด้วยแถวคอยลำดับความสำคัญที่ทำให้เกิดผลด้วยโครงสร้างข้อมูลแบบฮีปทวิภาคจะเรียกว่าการเรียงลำดับแบบฮีป ซึ่งมีประสิทธิภาพดีกว่าที่ O(n log n)

การเรียงลำดับแบบเลือก

ประสิทธิภาพเมื่อเกิดกรณีดีที่สุด O ( n 2 ) {\displaystyle O(n^{2})}
ประเภท ขั้นตอนวิธีการเรียงลำดับ
ประสิทธิภาพเมื่อเกิดกรณีทั่วไป O ( n 2 ) {\displaystyle O(n^{2})}
โครงสร้างข้อมูล รายการ
ปริมาณความต้องการพื้นที่เมื่อเกิดกรณีแย่ที่สุด ใช้พื่นที่ O ( 1 ) {\displaystyle O(1)} เพิ่มเติม
ประสิทธิภาพเมื่อเกิดกรณีแย่ที่สุด O ( n 2 ) {\displaystyle O(n^{2})}

ใกล้เคียง

การเรียนรู้ของเครื่อง การเร่งปฏิกิริยา การเรืองแสงของบรรยากาศ การเรียนรู้เชิงลึก การเร็นเดอร์ การเรียน การเรียกยานพาหนะคืนของโตโยต้า พ.ศ. 2552−2553 การเรียงลำดับแบบฟอง การเรียกชื่อสารเคมีตามระบบไอยูแพ็ก การเร่งโดยอาศัยแอนติบอดี