การเรียนรู้แบบร่วมมือ

การเรียนรู้แบบร่วมมือ (อังกฤษ: Cooperative learning) เป็นการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการกลุ่มย่อยที่สมาชิกมีความสามารถแตกต่างกันเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของกลุ่ม[1]:98 การเรียนรู้ลักษณะนี้ต่างจากการเรียนรู้เพียงลำพัง ซึ่งมักเกิดการแข่งขันขึ้นเป็นเรื่องปกติ โดยผู้เรียนสามารถใช้ประโยชน์จากทักษะและองค์ความรู้ของผู้เรียนคนอื่นได้ ผ่านการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ช่วยเหลือพึ่งพากัน รับผิดชอบร่วมกันทั้งในส่วนตนและส่วนรวม [2][3] นอกจากนี้บทบาทของครูผู้สอนเปลี่ยนจากผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้อำนวยการการเรียนรู้ของผู้เรียน การเรียนรู้รูปแบบนี้หากกลุ่มประสบความสำเร็จ ย่อมหมายถึงผู้เรียนทุกคนประสบความสำเร็จในการเรียนด้วย[4][5]

ใกล้เคียง

การเรียนรู้ของเครื่อง การเร่งปฏิกิริยา การเรืองแสงของบรรยากาศ การเร็นเดอร์ การเรียนรู้เชิงลึก การเรียน การเรียกชื่อสารเคมีตามระบบไอยูแพ็ก การเรียงลำดับแบบฟอง การเรียกยานพาหนะคืนของโตโยต้า พ.ศ. 2552−2553 การเร่งโดยอาศัยแอนติบอดี

แหล่งที่มา

WikiPedia: การเรียนรู้แบบร่วมมือ http://www.gse.buffalo.edu/fas/chiu/pdf/Flowing_To... http://eprints.uny.ac.id/951/1/P%20-%2015.pdf http://syahbella-bellapoenya.blogspot.in/2011/05/e... //doi.org/10.1080%2F10508400802224830 https://prezi.com/kn2ooa6sjef_/teams-games-and-tou... https://web.archive.org/web/20151223081530/http://... https://web.archive.org/web/20170329173028/http://... https://api.semanticscholar.org/CorpusID:16293640