คุณสมบัติ ของ การแปลงลาปลาส


กำหนดให้ f(t) และ g(t) มีผลการแปลงลาปลาสเป็น F(s) และ G(s) ตามลำดับ:

f ( t ) = L − 1 { F ( s ) } {\displaystyle f(t)={\mathcal {L}}^{-1}\{F(s)\}} g ( t ) = L − 1 { G ( s ) } {\displaystyle g(t)={\mathcal {L}}^{-1}\{G(s)\}}

ตารางต่อไปนี้เป็นตารางคุณสมบัติของการแปลงลาปลาสด้านเดียว (unilateral Laplace transform):

คุณสมบัติของการแปลงลาปลาสด้านเดียว
โดเมนเวลา โดเมน 's' หมายเหตุ
ภาวะเชิงเส้น (Linearity) a f ( t ) + b g ( t )   {\displaystyle af(t)+bg(t)\ } a F ( s ) + b G ( s )   {\displaystyle aF(s)+bG(s)\ } สามารถพิสูจน์ได้โดยคุณสมบัติความเป็นเชิงเส้นของการหาปริพันธ์ (ปริพันธ์ผลบวกเท่ากับ ปริพันธ์ขององค์ประกอบย่อยของผลบวกนั้น)
อนุพันธ์เชิงความถี่ (Frequency differentiation) t f ( t )   {\displaystyle tf(t)\ } − F ′ ( s )   {\displaystyle -F'(s)\ } F ′ {\displaystyle F'\,} เป็นอนุพันธอันดับแรกของ F {\displaystyle F\,} .
อนุพันธ์เชิงความถี่ (Frequency differentiation) t n f ( t )   {\displaystyle t^{n}f(t)\ } ( − 1 ) n F ( n ) ( s )   {\displaystyle (-1)^{n}F^{(n)}(s)\ } รูปแบบทั่วไปของอนุพันธอันดับ nth ของ F(s)
อนุพันธ์ (Differentiation) f ′ ( t )   {\displaystyle f'(t)\ } s F ( s ) − f ( 0 )   {\displaystyle sF(s)-f(0)\ } สมมุติให้ ƒ เป็นฟังก์ชันที่อนุพันธได้ (differentiable function)
อนุพันธอันดับสอง (Differentiation) f ″ ( t )   {\displaystyle f''(t)\ } s 2 F ( s ) − s f ( 0 ) − f ′ ( 0 )   {\displaystyle s^{2}F(s)-sf(0)-f'(0)\ } สมมุติให้ ƒ มีอนุพันธอันดับสอง
อนุพันธอันดับใดๆ (Differentiation) f ( n ) ( t )   {\displaystyle f^{(n)}(t)\ } s n F ( s ) − s n − 1 f ( 0 ) − ⋯ − f ( n − 1 ) ( 0 )   {\displaystyle s^{n}F(s)-s^{n-1}f(0)-\cdots -f^{(n-1)}(0)\ } สมมุติให้ ƒ มีอนุพันธอันดับ n ใดๆ
ปริพันธ์เชิงความถี่ (Frequency integration) f ( t ) t   {\displaystyle {\frac {f(t)}{t}}\ } ∫ s ∞ F ( σ ) d σ   {\displaystyle \int _{s}^{\infty }F(\sigma )\,d\sigma \ }
ปริพันธ์ Integration ∫ 0 t f ( τ ) d τ = ( u ∗ f ) ( t ) {\displaystyle \int _{0}^{t}f(\tau )\,d\tau =(u*f)(t)} 1 s F ( s ) {\displaystyle {1 \over s}F(s)} u ( t ) {\displaystyle u(t)} คือ ฟังก์ชันขั้นบันไดเฮวิไซด์ (Heaviside step function) และ ( u ∗ f ) ( t ) {\displaystyle (u*f)(t)} คือสังวัตนาการ (convolution) ของ u ( t ) {\displaystyle u(t)} และ f ( t ) {\displaystyle f(t)}
การขยายเชิงเวลา (Time scaling) f ( a t )   {\displaystyle f(at)\ } 1 | a | F ( s a ) {\displaystyle {\frac {1}{|a|}}F\left({s \over a}\right)}
การเลื่อนเชิงความถี่ (Frequency shifting) e a t f ( t )   {\displaystyle e^{at}f(t)\ } F ( s − a )   {\displaystyle F(s-a)\ }
การเลื่อนเชิงเวลา (Time shifting) f ( t − a ) u ( t − a )   {\displaystyle f(t-a)u(t-a)\ } e − a s F ( s )   {\displaystyle e^{-as}F(s)\ } u ( t ) {\displaystyle u(t)} คือ ฟังก์ชันขั้นบันไดเฮวิไซด์ (Heaviside step function)
การคูณ (Multiplication) f ( t ) g ( t )   {\displaystyle f(t)g(t)\ } 1 2 π i lim T → ∞ ∫ c − i T c + i T F ( σ ) G ( s − σ ) d σ   {\displaystyle {\frac {1}{2\pi i}}\lim _{T\to \infty }\int _{c-iT}^{c+iT}F(\sigma )G(s-\sigma )\,d\sigma \ } การหาปริพันธ์จะกระทำบนแกนแนวดิ่ง R e ( σ ) = c {\displaystyle Re(\sigma )=c} ซึ่งอยู่ในขอบเขตการลู่เข้า (region of convergence) ของ F
สังวัตนาการ (Convolution) ( f ∗ g ) ( t ) = ∫ 0 t f ( τ ) g ( t − τ ) d τ {\displaystyle (f*g)(t)=\int _{0}^{t}f(\tau )g(t-\tau )\,d\tau } F ( s ) ⋅ G ( s )   {\displaystyle F(s)\cdot G(s)\ } ในนิยามของการสังวัตนาการ เราสามรถกำหนดให้ ƒ(t) และ g(t) มีค่าเป็นศูนย์ได้ เมื่อ t < 0
สังยุคของจำนวนเชิงซ้อน (Complex conjugation) f ∗ ( t ) {\displaystyle f^{*}(t)} F ∗ ( s ∗ ) {\displaystyle F^{*}(s^{*})}
สหสัมพันธ์ไขว้ (Cross-correlation) f ( t ) ⋆ g ( t ) {\displaystyle f(t)\star g(t)} F ∗ ( − s ∗ ) ⋅ G ( s ) {\displaystyle F^{*}(-s^{*})\cdot G(s)}
ฟังก์ชันคาบ (Periodic Function) f ( t )   {\displaystyle f(t)\ } 1 1 − e − T s ∫ 0 T e − s t f ( t ) d t {\displaystyle {1 \over 1-e^{-Ts}}\int _{0}^{T}e^{-st}f(t)\,dt} f ( t ) {\displaystyle f(t)} เป็น ฟังก์ชันคาบ ของคาบ T {\displaystyle T} กล่าวคือ f ( t ) = f ( t + T ) , ∀ t ≥ 0 {\displaystyle f(t)=f(t+T),\;\forall t\geq 0} เป็นการรวมการของคุณสมบัติการเลื่อนเชิงเวลาและคุณสมบัติของลำดับเรขาคณิต

ใกล้เคียง

การแปลการพินิจภายในผิด การแปลสิ่งเร้าผิด การแปรผันทางพันธุกรรม การแปลงหน่วยอุณหภูมิ การแปลสิ่งเร้าผิดเชิงบวก การแปลสิ่งเร้าผิดว่าควบคุมได้ การแปลงฟูรีเย การแปลงพื้นที่เพื่อเปลี่ยนชนชั้น การแปลงโคไซน์ไม่ต่อเนื่อง การแปลสัมผัสผิด