เครื่องช่วยฟัง ของ การได้ยินผ่านกระดูก

เครื่องช่วยฟังบางชนิดอาจนำเสียงผ่านกระดูก ทำให้ได้ยินเหมือนกับปกติเช่น หูฟังโทรศัพท์ที่ติดอย่างถูกหลักการยศาสตร์ที่ขมับหรือที่แก้ม โดยตัวแปรสัญญาณไฟฟ้าเป็นแรงสั่นจะส่งเสียงเป็นแรงสั่นเข้าไปในหูชั้นในผ่านกะโหลกศีรษะเช่นเดียวกันไมโครโฟนก็สามารถใช้อัดเสียงพูดผ่านการนำเสียงผ่านกระดูกด้วยเหมือนกันเครื่องฟังผ่านกระดูกอันแรกที่มีบันทึกสร้างขึ้นในปี 1923 โดยนักประดิษฐ์ชาวลักเซมเบิร์ก-อเมริกัน ซึ่งเขาเรียกว่า "Osophone"[5]และต่อมาพัฒนาขึ้นเป็น "Phonosone"[6]

หลังจากค้นพบว่า กระดูกสามารถงอกยึดกับเครื่องปลูกฝัง (osseointegration) ได้ราวปี ค.ศ. 1950 แล้วประยุกต์ใช้หลักนี้ในทันตแพทยศาสตร์ราวปี 1965 จึงพบว่า ฟันที่ปลูกฝังสามารถนำเสียงไปยังหูดังนั้น จึงเกิดเครื่องช่วยฟังที่ยึดเข้ากับกระดูกในปี 1977 ต่อมา

ใกล้เคียง

การใช้ยาเกินขนาด การได้ยินผ่านกระดูก การได้ยิน การได้เปรียบเชิงกล การได้กลิ่น การได้รับวัคซีน การได้เส้นประสาทกลับกัน การทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม การเดินทางข้ามเวลา การดักจับและการจัดเก็บคาร์บอน

แหล่งที่มา

WikiPedia: การได้ยินผ่านกระดูก http://land-rover-bar.americascup.com/en/news/258_... http://www.everydayhearing.com/hearing-technology/... http://www.swtpc.com/mholley/RadioElectronics/Apr1... http://theconversation.com/bone-conduction-the-new... http://www.tinnitus.vcu.edu/Pages/Human%20Skull%20... http://www.wanderings.net/notebook/Main/WhyDoesYou... http://www.bbc.co.uk/news/technology-23167112 https://www.baesystems.com/en/article/our-bone-con... https://worldwide.espacenet.com/textdoc?DB=EPODOC&... https://books.google.com/books?id=1jFWy2qR4U4C&q=b...