การหาค่าความส่องสว่างสัมบูรณ์ ของ ความส่องสว่างสัมบูรณ์

การหาค่าความส่องสว่างสัมบูรณ์จากความส่องสว่างปรากฏและระยะทาง


ใช้สูตร M = m − 5 ( log 10 ⁡ D L − 1 ) {\displaystyle M=m-5(\log _{10}{D_{L}}-1)\!\,}
เมื่อ D L {\displaystyle D_{L}\!\,} คือระยะห่างของระหว่างดาวกับโลกในหน่วยพาร์เซกเช่น ดาวไรเจลมีความส่องสว่างปรากฏ 0.18 และห่างจากโลก 773 ปีแสง M v R i g e l = 0.18 − 5 ( log 10 ⁡ ( 773 3.2616 ) − 1 ) = − 6.7 {\displaystyle M_{v}Rigel=0.18-5(\log _{10}{({\frac {773}{3.2616}})}-1)=-6.7}

การหาค่าความส่องสว่างสัมบูรณ์จากความส่องสว่างปรากฏและมุมแพรัลแลกซ์


ใช้สูตร M = m + 5 ( log 10 ⁡ π + 1 ) {\displaystyle M=m+5(\log _{10}{\pi }+1)\!\,}
เมื่อ π {\displaystyle \pi \!\,} คือมุมแพรัลแลกซ์ของดาวดวงนั้นในหน่วยพิลิปดาเช่น ดาวเวกา มีมุมแพรัลแลกซ์ 0.133 พิลิปดา มีความส่องสว่างปรากฏ 0.03 M v V e g a = 0.03 + 5 ( log 10 ⁡ 0.133 + 1 ) = 0.65 {\displaystyle M_{v}Vega=0.03+5(\log _{10}{0.133}+1)=0.65}

ใกล้เคียง

ความสนใจต่อสิ่งภายนอก-ความสนใจต่อสิ่งภายใน ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทย ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ ความสามารถของบุคคล ความสัมพันธ์ไทย–พม่า ความสัมพันธ์ญี่ปุ่น–ไทย ความสัมพันธ์จีน–ไทย ความสัมพันธ์ไทย–สหรัฐ ความสัมพันธ์ไทย–รัสเซีย ความสัมพันธ์เนโท–สวีเดน