ภาพรวม ของ ความเปล่งรังสี

เมื่อ Φ(Δσ) เป็นฟลักซ์การแผ่รังสีที่ปล่อยออกมาจากพื้นที่ขนาดเล็ก Δσ บนพื้นผิวของแหล่งกำเนิดรังสี ความเปล่งรังสีจะนิยามโดย

R = lim Δ σ → 0 Φ ( Δ σ ) Δ σ = d Φ d σ {\displaystyle R=\lim _{\Delta \sigma \to 0}{\frac {\Phi (\Delta \sigma )}{\Delta \sigma }}={\frac {d\Phi }{d\sigma }}}

ให้เวกเตอร์แนวฉาก ณ จุดหนึ่งบนพื้นผิวของแหล่งกำเนิดรังสีเป็น n' และให้ความแผ่รังสีจากจุดนั้นในทิศทาง r เป็น L แล้วความเปล่งรังสีจะคำนวณได้เป็น

R = ∫ ( r ^ ⋅ n ′ ) L d ω {\displaystyle R=\int ({\hat {\boldsymbol {r}}}\cdot {\boldsymbol {n}}')\,L\,d\omega }

โดย ω คือมุมตันในซีกด้านนอกของพื้นผิวแหล่งกำเนิด ในกรณีที่ความแผ่รังสี L ไม่ขึ้นอยู่กับทิศทาง จะได้ว่า R=πL

ใกล้เคียง

ความเสียวสุดยอดทางเพศ ความเจ็บปวด ความเหนือกว่าเทียม ความเท่าเทียมทางเพศ ความเอนเอียงเพื่อยืนยัน ความเอนเอียงโดยการมองในแง่ดี ความเครียด (จิตวิทยา) ความเอนเอียงรับใช้ตนเอง ความเสี่ยงมหันตภัยทั่วโลก ความเป็นมาของตัวละครในเพชรพระอุมา