ประวัติศาสตร์ ของ ความโน้มถ่วง

ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้

กฎความโน้มถ่วงของนิวตัน

ความโน้มถ่วงระหว่างวัตถุสองอัน

ในปี พ.ศ. 2230 ไอแซก นิวตัน ได้ค้นพบกฎความโน้มถ่วงดังนี้

F = G m 1 m 2 r 2 {\displaystyle F={\frac {Gm_{1}m_{2}}{r^{2}}}}
Fแทนความโน้มถ่วงระหว่างมวลทั้งสอง
Gแทนค่านิจโน้มถ่วงสากล
m1แทนมวลของวัตถุแรก
m2แทนมวลของวัตถุที่สอง
rแทนระยะห่างระหว่างวัตถุทั้งสอง

ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป

Albert Einstein ได้เผยแพร่ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปในปี พ.ศ. 2459 โดยเนื้อหาแสดงถึงการอธิบายความโน้มถ่วงที่มีพื้นฐานมาจากทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษและกฎความโน้มถ่วงของนิวตันในรูปแบบของกาลอวกาศ (อังกฤษ: Spacetime) เชิงเรขาคณิตที่สามารถอธิบายได้ด้วยสมการสนามของAlbert Einstein (อังกฤษ: Einstein field Equation) ดังนี้

R μ ν − 1 2 g μ ν R + g μ ν Λ = 8 π G c 4 T μ ν {\displaystyle R_{\mu \nu }-{1 \over 2}g_{\mu \nu }\,R+g_{\mu \nu }\Lambda ={8\pi G \over c^{4}}T_{\mu \nu }}
R μ ν {\displaystyle R_{\mu \nu }} แทน ริชชี่เทนเซอร์ความโค้ง (Ricci Tensor Curvature)
R {\displaystyle R} แทนความโค้งเชิงสเกลาร์ (Scalar Curvature)
g μ ν {\displaystyle g_{\mu \nu }} แทนเมตริกซ์เทนเซอร์
Λ {\displaystyle \Lambda \!} แทนค่าคงตัวจักรวาล (Cosmological Constant)
G {\displaystyle G} แทนค่านิจโน้มถ่วงสากล (Gravity Constant)
c {\displaystyle c} แทนความเร็วแสง
T μ ν {\displaystyle T_{\mu \nu }} แทนเทนเซอร์ความเค้น-พลังงาน (Stress-Energy Tensor)