ความโน้มถ่วงเชิงควอนตัม

หลักการทางคณิตศาสตร์Measurement · หลักความไม่แน่นอน
หลักการกีดกัน · ทวิภาพ
Decoherence · Ehrenfest theorem · Tunnelingทฤษฎีโน้มถ่วงเชิงควอนตัม (อังกฤษ: Quantum Gravity: QG) เป็นทฤษฎีที่พยายามรวม กลศาสตร์ควอนตัม ซึ่งอธิบายแรงพื้นฐาน สามแรงคือ แรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงนิวเคลียร์แบบเข้ม และแรงนิวเคลียร์แบบอ่อน เข้ากับ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของไอน์สไตน์ ซึ่งใช้อธิบายแรงโน้มถ่วง เป้าหมายของทฤษฎีนี้ก็คือ การอธิบายทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปในระดับพลังงานสูง และ ทฤษฎีควอนตัมในระดับสเกลใหญ่ภายใต้กฎหนึ่งเดียวเป็นทฤษฎีแห่งสรรพสิ่ง (Theory of Everything: TOE)

ความโน้มถ่วงเชิงควอนตัม

ภูมิหลังหลักการพื้นฐานการทดลองFormulationsสมการการตีความหัวข้อศึกษายุคใหม่นักวิทยาศาสตร์ ความรู้เบื้องต้น

หลักการทางคณิตศาสตร์

ภูมิหลัง
กลศาสตร์ดั้งเดิม
ทฤษฎีควอนตัมแบบเก่า
Interference · Bra-ket notation
Hamiltonian
หลักการพื้นฐาน
Quantum state · ฟังก์ชันคลื่น
Superposition · เอนแทงเกิลเมนต์

Measurement · หลักความไม่แน่นอน
หลักการกีดกัน · ทวิภาพ
Decoherence · Ehrenfest theorem · Tunneling

การทดลอง
Double-slit experiment
Davisson–Germer experiment
Stern–Gerlach experiment
Bell's inequality experiment
Popper's experiment
แมวของชเรอดิงเงอร์
Elitzur-Vaidman bomb-tester
Quantum eraser
Formulations
Schrödinger picture
Heisenberg picture
Interaction picture
กลศาสตร์เมทริกซ์
Sum over histories
สมการ
สมการของเพาลี
สมการของไคลน์–กอร์ดอน
สมการของดิแรก
ทฤษฎีของบอร์และสมการของบัลเมอร์-ริดเบอร์ก
การตีความ
โคเปนเฮเกน · Ensemble
Hidden variable theory · Transactional
Many-worlds · Consistent histories
Relational · Quantum logic · Pondicherry
หัวข้อศึกษายุคใหม่
ทฤษฎีสนามควอนตัม
ทฤษฎีโน้มถ่วงเชิงควอนตัม
ทฤษฎีแห่งสรรพสิ่ง
นักวิทยาศาสตร์
พลังค์ · ไอน์สไตน์ · บอร์ · ซอมเมอร์เฟลด์ · โพส · เครเมอร์ส · ไฮเซนแบร์ก· บอร์น · จอร์แดน · เพาลี · ดิแรก · เดอ เบรย ·ชเรอดิงเงอร์ · ฟอน นอยมันน์ · วิกเนอร์ · ไฟน์แมน · Candlin · บอห์ม · เอฟเรตต์ · เบลล์ · เวน