การแบ่งเขตการปกครองสมัยบริติชซีลอน ของ จังหวัดของประเทศศรีลังกา

หลังจากจักรวรรดิบริติชเข้าปกครองเกาะซีลอนโดยสมบูรณ์ใน ค.ศ. 1815 เกาะซีลอนถูกแบ่งออกเป็นสามเขตตามชนชาติได้แก่ชาวสิงหลพื้นที่ราบ ชาวสิงหลกัณฏิ และชาวทมิฬ ต่อมาใน ค.ศ. 1829 ทางจักรวรรดิบริติชได้ตั้งกรรมาธิการโคลบรุก–คาเมรอนเพื่อทบทวนการบริหารราชการบริติชซีลอนอีกครั้ง[3] กรรมาธิการดังกล่าวเสนอว่าเขตชนชาติทั้งสามเขตควรยุบรวมกันเป็นหน่วยเดียวและแบ่งออกเป็นจังหวัดตามที่ตั้งภูมิศาสตร์แทน[3] ในวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ. 1833 จึงได้มีการจัดตั้งจังหวัด 5 จังหวัดดังนี้[4][5][6][7]

ตลอดช่วงที่เหลือของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ได้มีการจัดตั้งจังหวัดเพิ่มเติมอีก 4 จังหวัดได้แก่[6][7][8]

ใกล้เคียง

จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดของประเทศไทย จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดขอนแก่น จังหวัดชลบุรี จังหวัดนนทบุรี จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดอุดรธานี

แหล่งที่มา

WikiPedia: จังหวัดของประเทศศรีลังกา http://www.tamilnation.co/unitednations/uncom00c.h... http://www.country-data.com/cgi-bin/query/r-13139.... http://www.hindu.com/thehindu/2003/11/14/stories/2... http://www.statoids.com/ulk.html http://archives.dailymirror.lk/2006/10/17/front/02... http://archives.dailynews.lk/2003/03/21/fea01.html http://archives.dailynews.lk/2009/02/04/inde.asp?i... http://www.priu.gov.lk/ProvCouncils/ProvicialCounc... http://www.statistics.gov.lk/Abstract2014/CHAP1/1.... http://www.statistics.gov.lk/PopHouSat/CPH2011/Pag...