จังหวัดลัมปุง
จังหวัดลัมปุง

จังหวัดลัมปุง

พิกัดภูมิศาสตร์: 5°27′S 105°16′E / 5.450°S 105.267°E / -5.450; 105.267จังหวัดลัมปุง เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ปลายด้านทิศใต้ของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย และมีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดเบิงกูลูและสุมาตราใต้ทางทิศเหนือ จังหวัดลัมปุงเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของชาวลัมปุงซึ่งพูดภาษาลัมปุง และมีเมืองหลักคือบันดาร์ลัมปุงในปี ค.ศ. 2010 มีประชากร 7,596,115 คน[1] และในเดือนมกราคม ค.ศ. 2014 มีประชากร 7,972,246 คน โดย 1 ใน 3 ของประชากร อพยพมาจากเกาะชวา, เกาะมาดูรา และเกาะบาหลี ซึ่งจังหวัดลัมปุงเป็นหนึ่งในจุดหมายปลายทางของการอพยพที่เก่าแก่และสำคัญที่สุดลัมปุงเป็นที่รู้จักกันดีจากภัยพิบัติแผ่นดินไหวและภูเขาไฟ โดยเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม ค.ศ. 2005 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.4 ริกเตอร์ และก่อนหน้านั้นในปี ค.ศ. 1883 ตัวจังหวัดได้รับผลกระทบจากการระเบิดของภูเขาไฟกรากะตัว

จังหวัดลัมปุง

เว็บไซต์ เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ
• หน่วยงาน รัฐบาลประจำภูมิภาคลัมปุง
รหัสไอเอสโอ 3166 ID-LA
HDI 0.664 (ปานกลาง)
ทะเบียนพาหนะ BE
รีเจนซีที่ใหญ่ที่สุด (ประชากร) Central Lampung Regency – (1,170,048 – 2016)
• ทั้งหมด 7,972,246 คน
• ความหนาแน่น 230 คน/ตร.กม. (580 คน/ตร.ไมล์)
อันดับพื้นที่ อันดับที่ 22
เขตเวลา UTC+7 (Indonesia Western Time)
• ผู้ว่าราชการจังหวัด Muhammad Ridho Ficardo (พรรคเดโมแครติก)
• อันดับ อันดับที่ 8
ประเทศ  อินโดนีเซีย
เมืองหลัก บันดาร์ลัมปุง
เดมะนิม Lampungese
Warga Lampung (id)
• กลุ่มชาติพันธุ์ ชวา (62%), ซุนดัน (9%), ลัมปุง (25%), มาเลย์ (4%), บันเตน (3%)[2]
• ศาสนา อิสลาม (92%), โปรเตสแตนต์ (1.8%), คาทอลิก (0.8%), ฮินดู (1.7%), พุทธ (0.3%)
รีเจนซีที่ใหญ่ที่สุด (พื้นที่) Tulang Bawang Regency – 6,851.32 ตารางกิโลเมตร (2,645.31 ตารางไมล์)
• ภาษา อินโดนีเซีย (อย่างเป็นทางการ)
ลัมปุง (ภาษากลาง)
Lampung Nyo (dialect o)
Lampung Api (dialect a)
ชวา
Komering
ซุนดา
ความสูงจุดสูงสุด 2,262 เมตร (7,421 ฟุต)
อันดับ อันดับที่ 24 (ค.ศ. 2014)
เมืองที่ใหญ่ที่สุด (ประชากร) บันดาร์ลัมปุง – (879,651 คน – ค.ศ. 2016)
เมืองที่ใหญ่ที่สุด (พื้นที่) บันดาร์ลัมปุง – 118.50 ตารางกิโลเมตร (45.75 ตารางไมล์)
รหัสไปรษณีย์ 30xxx, 31xxx, 32xxx
ก่อตั้ง 18 มีนาคม ค.ศ. 1964
รหัสพื้นที่ (62) 7xx
• รองผู้ว่าราชการจังหวัด Bachtiar Basri

ใกล้เคียง

จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดชลบุรี จังหวัดของประเทศไทย จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดขอนแก่น จังหวัดภูเก็ต จังหวัดสุราษฎร์ธานี