การเมืองการปกครอง ของ จังหวัดสุพรรณบุรี

หน่วยการปกครอง

การปกครองแบ่งออกเป็น 10 อำเภอ 110 ตำบล 977 หมู่บ้าน โดยทั้ง 10 อำเภอมีดังนี้

แผนที่อำเภอในจังหวัดสุพรรณบุรี
ชั้นหมายเลขอำเภอประชากร
(พ.ศ. 2560)
พื้นที่
(ตร.กม.)
ความหนาแน่น
(คน/ตร.กม.)
รหัสไปรษณีย์ระยะทางจากตัวเมือง
11อำเภอเมืองสุพรรณบุรี168,178540.9310.9272000-
12อำเภอเดิมบางนางบวช72,542552.3131.347212051
23อำเภอด่านช้าง68,4151,193.657.317218074
24อำเภอบางปลาม้า77,966481.3161.997215015
25อำเภอศรีประจันต์62,895181.0347.487214019
26อำเภอดอนเจดีย์46,230252.081183.397217033
17อำเภอสองพี่น้อง128,464750.4171.1972110, 7219038
28อำเภอสามชุก54,441355.9152.967213036
19อำเภออู่ทอง123,510630.29195.9572160, 7222034
310อำเภอหนองหญ้าไซ49,362420.2117.477224054
รวม852,003 5,358.008159.01


จังหวัดสุพรรณบุรีมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรวม 127 แห่ง ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง คือ องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุพรรณบุรี, เทศบาลเมือง 2 แห่ง ได้แก่ เทศบาลเมืองสุพรรณบุรี และเทศบาลเมืองสองพี่น้อง, เทศบาลตำบล 43 แห่ง และองค์การบริหารส่วนตำบล 81 แห่ง[3]

อำเภอเมืองสุพรรณบุรีอำเภอเดิมบางนางบวช
  • เทศบาลตำบลเขาพระ
  • เทศบาลตำบลนางบวช
  • เทศบาลตำบลบ่อกรุ
  • เทศบาลตำบลเขาดิน
  • เทศบาลตำบลปากน้ำ
  • เทศบาลตำบลเดิมบาง
  • เทศบาลตำบลหนองกระทุ่ม
  • เทศบาลตำบลทุ่งคลี
อำเภอด่านช้างอำเภอบางปลาม้า
  • เทศบาลตำบลโคกคราม
  • เทศบาลตำบลบางปลาม้า
  • เทศบาลตำบลบ้านแหลม
  • เทศบาลตำบลไผ่กองดิน
  • เทศบาลตำบลต้นคราม
  • เทศบาลตำบลตะค่า
  • เทศบาลตำบลบ้านแหลมพัฒนา
อำเภอศรีประจันต์อำเภอดอนเจดีย์
  • เทศบาลตำบลดอนเจดีย์
  • เทศบาลตำบลสระกระโจม
อำเภอสองพี่น้องอำเภอสามชุกอำเภออู่ทองอำเภอหนองหญ้าไซ
  • เทศบาลตำบลหนองหญ้าไซ

รายชื่อผู้ว่าราชการจังหวัด

ชื่อช่วงเวลาดำรงตำแหน่ง
1. พระยาสุนทรสงคราม (จัน สุนทรพงษ์)พ.ศ. 2394–ไม่ทราบ
2. พระยาสุนทรสงครามรามพิไชย (แจ่ม สุนทรวิภาต)พ.ศ. 2412–2420
3. พระยาสุนทรสงครามรามพิไชย (สว่าง อมาตยกุล)พ.ศ. 2421–2425
4. พระยาสุนทรสงคราม (จัน แสงชูโต)พ.ศ. 2426–2429
5. พระยาสุนทรสงครามรามภักดี (พัน รัตนกุล)พ.ศ. 2431–2435
6. พระยาอภัยพลภักดิ์ (ม.ล.อุกฤษ เสนีย์วงค์)พ.ศ. 2435–2439
7. พระอร่ามมณเฑียร (ม.ร.ว.ใหญ่ นรินทรกุล)พ.ศ. 2440
8. พระยาสุนทรสงคราม (ถม ณ มหาไชย)พ.ศ. 2440–2442
9. พระยาอินทรวิชิต (ทองคำ)พ.ศ. 2442–2444
10. พระยาสุนทรสงคราม (ม.ร.ว.เล็ก พยัคฆเสนา)พ.ศ. 2444–2454
11. พระยาสุนทรสงคราม (อี้ กรรณสูต)พ.ศ. 2454–2466
12. พระยาสุนทรสงคราม (ปุย สุวรรณศร)พ.ศ. 2466–2470
13. พระยาพิศาลสารเกษตร (พร พิมพสูตร)พ.ศ. 2470–2476
14. พระยารามราชภักดี (ม.ล.สวาสดิ์ อิศรางกูร)พ.ศ. 2476–2479
15. พ.ท.พระเจนกระบวนหัด (ทองคำ พรโสภณ)พ.ศ. 2479–2481
16. หลวงศรีราชรักษา (ผิว ชาครียรัตน์)พ.ศ. 2481–2485
17. นายกังวาล วงษ์สกุลพ.ศ. 2485–2486
18. ร.อ.หลวงวุฒิราษฎร์รักษา (วุฒิศรสงคราม วุฒิราษฎร์รักษา)พ.ศ. 2486–2487
19. นายอรรสิทธิ์ สิทธิสุนทรพ.ศ. 2487–2488
20. นายปรง พหูชนม์พ.ศ. 2488–2489
21. นายชุบ พิเศษนครกิจพ.ศ. 2489
22. ขุนธรรมรัฐธุราทร (ธรรมรัฐ โรจนสุนทร)พ.ศ. 2489–2494

ชื่อช่วงเวลาดำรงตำแหน่ง
23. นายสนิท วิไลจิตต์พ.ศ. 2494–2496
24. พ.ต.อ.จำรัส โรจนจันทร์พ.ศ. 2496–2497
25. นายพินิต โพธิ์พันธุ์พ.ศ. 2497–2500
26. นายพัฒน์ บุณยรัตนพันธุ์พ.ศ. 2500–2509
27. นายเวียง สาครสินธุ์พ.ศ. 2509–2510
28. นายสวัสดิ์ มีเพียรพ.ศ. 2510–2518
29. นายสอน สุทธิสารพ.ศ. 2518–2521
30. นายชลิต พิมลศิริพ.ศ. 2521–2523
31. นายจรินทร์ กาญจโนมัยพ.ศ. 2523–2527
32. นายอารีย์ วงศ์อารยะพ.ศ. 2527–2531
33. นายธานี โรจนลักษณ์พ.ศ. 2531–2533
34. ร.ต.สมนึก เกิดเกษพ.ศ. 2533–2534
35. ร.อ.ศรีรัตน์ หริรักษ์พ.ศ. 2534–2535
36. นายสมพงศ์ ศรียะพันธุ์พ.ศ. 2535–2536
37. นายอำนวย ยอดเพชรพ.ศ. 2536–2538
38. นายประเสริฐ เปลี่ยนรังสีพ.ศ. 2538–2541
39. นายวิพัฒน์ คงมาลัยพ.ศ. 2541–2546
40. นายทรงพล ทิมาศาสตร์พ.ศ. 2546–2549
41. นายสมศักย์ ภูรีศรีศักดิ์พ.ศ. 2549–2555
42. นายสุภัทร์ ศรีสุนทรพินิตพ.ศ. 2555–2556
43. ว่าที่ร้อยตรี สุพีร์พัฒน์ จองพานิชพ.ศ. 2556–2560
44. นายนิมิต วันไชยธนวงศ์พ.ศ. 2560–ปัจจุบัน

ใกล้เคียง

จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดชลบุรี จังหวัดของประเทศไทย จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดขอนแก่น จังหวัดภูเก็ต จังหวัดสุราษฎร์ธานี