ตารางสระ ของ ชุดตัวอักษรอูรดู

อักษรโรมันออกเสียงรูปท้ายรูปกลางรูปต้น
a/ə/
ā/aː/
i/ɪ/
ī/iː/
u/ʊ/
ū/uː/
e/eː/
ai/ɛ/
o/oː/
au/ɔ/

สระเสียงสั้น

สระเสียงสั้น (อะ "a", อิ "i", อุ"u") แสดงด้วยเครื่องหมายบนและล่างตัวอักษร

VowelNameTranscriptionIPA
بَzabarba/ə/
بِzerbi/ɪ/
بُpeshbu/ʊ/

อลิฟ

อลิฟ (ا) เป็นอักษรตัวแรกของอักษรอุรดู และใช้เป็นสระ ในตำแหน่งต้นคำ อลิฟ ใช้แทนทั้งสระเสียงสั้น เช่น اب อับ ab, اسم อิสมism, اردو อุรดูurdū แต่ถ้า อลิฟ (ا) ตามด้วย wā'o (و) หรือ ye (ی) จะแสดงสระเสียงยาว ถ้า wā'o (و) หรือ ye (ی) ตัวเดียวอยู่ที่ตำแหน่งเริ่มต้นจะเป็นพยัญชนะ

อลิฟมีหลายรูปแบบ เรียกalif madd (آ). ใช้แทนสระเสียงยาว อา "ā" ที่ต้นคำ เช่น آپ อาบ āp, آدمی อาดมิ ādmi. ตอนกลางหรือท้ายคำ สระอาแทนด้วย อลิฟ (ا), เช่น بات บาต bāt, آرام อาราม ārām

วาว

Wā'o ใช้แสดงสระ อู "ū", โอ "o" และ ออ "au" ([uː], [oː], และ [ɔ]), และใช้แทนเสียง [ʋ].

เย

เยมีสองรูป : choṭī ye และ baṛi ye.

Choṭī ye (ی) ใช้เหมือนในภาษาเปอร์เซีย ใช้แทนสระเสียงยาว อี "ī" และพยัญชนะ "y".

Baṛī ye (ے) ใช้แทนสระ เอ "e" และ แอ "ai" (/eː/ และ /æː/). Baṛī ye ใช้เขียนเมื่ออยู่ท้ายคำ

ใกล้เคียง

ชุดตัวอักษรอาหรับ ชุดตัวอักษรกรีก ชุดตัวอักษรอูรดู ชุดตัวอักษรยาวี ชุดตัวอักษรละติน ชุดตัวอักษรทาจิก ชุดตัวอักษรเปอร์เซีย ชุดตัวหนังสือพยางค์เชโรกี ชุดตัวอักษรฮีบรู ชุดตัวอักษรสากลสำหรับการถอดอักษรภาษาสันสกฤต

แหล่งที่มา

WikiPedia: ชุดตัวอักษรอูรดู http://users.skynet.be/hugocoolens/newurdu/newurdu... http://calligraphyislamic.com http://www.omniglot.com/writing/urdu.htm http://www.urdustuff.com/forums/ http://www.wepapers.com/Papers/411177/English_to_U... http://www.user.uni-hannover.de/nhtcapri/urdu-alph... http://mylanguages.org/urdu_alphabet.php http://www.unicode.org/charts/PDF/U0600.pdf http://www.unicode.org/charts/PDF/U0750.pdf http://www.unicode.org/charts/PDF/UFB50.pdf