ประสิทธิภาพ ของ ตัวกรองของบลูม

  • การเพิ่มข้อมูล ใช้เวลาคงตัว O(1) เนื่องจากใช้ฟังก์ชันแฮช
  • การลบข้อมูล ใช้เวลา O(n) เพราะต้องหยิบข้อมูลทุกตัวมาผ่านตัวกรองอีกรอบ
  • การค้นข้อมูล ถ้าค้นแล้วเจอ ก็ต้องไปตรวจสอบดูอีกทีว่ามีอยู่จริง ๆ หรือไม่ ทำให้เสียเวลา O(n) หรือ O(log n) (แล้วแต่ชนิดของ

โครงสร้างข้อมูล) แต่ถ้าค้นแล้วไม่เจอ สามารถสรุปได้ทันทีว่าไม่เจอ O(1)

ประสิทธิภาพของวิธีนี้ขึ้นกับจำนวนของฟังก์ชันแฮชที่ใช้ และจำนวนของตัวกรอง โดยการกำหนดจำนวนเหล่านี้ต้องใช้หลักของความน่าจะเป็นเข้ามาช่วย เพื่อลดโอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ผิดพลาดดังเช่นกรณีค้นหา C แล้วเจอ แต่ที่จริงแล้วต้องไม่เจอ ซึ่งถ้าโอกาสของการเกิดกรณีแบบนี้มีน้อยมาก ๆ เราก็สามารถละทิ้งการตรวจสอบรอบที่ 2 ได้

ใกล้เคียง

ตัวกระตุ้น ตัวกระตุ้นให้ทำงาน ตัวกรองคาลมาน ตัวกรองของบลูม ตัวกระตุ้นอันตราย ตัวกรองกั้นระหว่างเลือดและสมอง ตัวกระดูกเรเดียส ตัวกระดูกอัลนา ตัวกระตุ้นที่เหมาะสม ตัวรับกระแสไฟ