พื้นฐาน ของ ตัวบ่งปริมาณ_(บางตัว)

ให้เงื่อนไขเป็นจำนวนธรรมชาติใดๆ ที่คูณด้วยตัวมันเองแล้วมีผลลัพธ์เป็น 25

0 ⋅ 0 = 25 {\displaystyle 0\cdot 0=25} หรือ 1 ⋅ 1 = 25 {\displaystyle 1\cdot 1=25} หรือ 3 ⋅ 3 = 25 {\displaystyle 3\cdot 3=25} หรือ 4 ⋅ 4 = 25 {\displaystyle 4\cdot 4=25} ฯลฯ

ประโยคนี้ เป็นแบบการเลือกเชิงตรรกศาสตร์ เพราะมีการใช้ "และ" แบบซ้ำๆ แต่อย่างไรก็ดี "ฯลฯ" ไม่สามารถเขียนแบบตรรกศาสตร์มาตรฐานได้ จากประโยคดังกล่าวข้างต้น อาจนิยามได้อีกทีว่า :

∃ n ∈ N → n ⋅ n = 25 {\displaystyle \exists n\in \mathbb {N} \rightarrow n\cdot n=25}

ประโยคข้างต้น ใช้ตัวบ่งปริมาณแบบบางตัวเข้ามาช่วย

จากรูปประโยคข้างต้น จะมีความแม่นยำกว่าอันที่หนึ่ง ในขณะที่ "ฯลฯ" ไม่ได้เจาะจงว่ารวมจำนวนธรรมชาติทั้งหมด และไม่ได้บอกอะไรเพิ่ม เพราะไม่ได้กำหนดโดเมนอย่างชัดเจน ประโยคก็อาจจะไม่ได้เป็นการตีความอะไรมากนัก หรือจะพูดอีกอย่างก็คือ จำนวนธรรมชาตินั้นได้กำหนดไว้อย่างชัดเจน

ประโยคข้างต้นเป็นจริง เพราะ 5 เป็นจำนวนธรรมชาติ และเมื่อแทน 5 ด้วย n แล้ว จะได้สมการว่า 5 ⋅ 5 = 25 {\displaystyle 5\cdot 5=25} ซึ่งเป็นจริง ไม่สำคัญว่า n ⋅ n = 25 {\displaystyle n\cdot n=25} จะเป็นจริงกับเฉพาะจำนวนธรรมชาติ 5 เท่านั้น เพราะหากมีแค่สมาชิกตัวเดียวที่มาทำให้เงื่อนไขเป็นจริงได้ สำหรับตัวบ่งปริมาณบางตัวแล้ว ประโยคนั้นจะเป็นจริงทันที ในทางตรงกันข้าม หากเป็นประโยค :

∃ n ∈ e v e n   n u m b e r → n ⋅ n = 25 {\displaystyle \exists n\in \mathrm {even\ number} \rightarrow n\cdot n=25}

เป็นเท็จ เนื่องจากไม่มีจำนวนคู่ใดคูณกันด้วยตัวมันเองแล้วได้ผลลัพธ์เท่ากับ 25

เอกภพสัมพัทธ์ ใช้กำหนดว่าค่าตัวแปร n ใดบ้างที่จะนำมาใช้กับเงื่อนไข แต่ยังมีเรื่องของความเป็นจริงและเท็จของแต่ละประโยคนั้นๆ ในบางครั้งตัวเชื่อมเชิงตรรกศาสตร์มาใช้กับเอกภพสัมพัทธ์เพื่อพิสูจน์ เช่น

∃ n ∈ p o s i t i v e   o d d   n u m b e r → n ⋅ n = 25 {\displaystyle \exists n\in \mathrm {positive\ odd\ number} \rightarrow n\cdot n=25}

สมมูลกับ

∃ n ∈ N , n ∈ o d d   n u m b e r ∧ n ⋅ n = 25 {\displaystyle \exists n\in \mathbb {N} ,n\in \mathrm {odd\ number} \land n\cdot n=25}

จากตัวอย่างข้างต้น เราจะเติมการเชื่อมเชิงตรรกศาสตร์มาด้วย

สัญลักษณ์ "∃" (ตัว E กลับหัวในตระกูลฟอนต์ Sans-Serif) ใช้แทนตัวบ่งปริมาณแบบบางตัว (หรือบางทีอาจเขียนเฉพาะตัว V โดดๆ)

ถ้า P ( a , b , c ) {\displaystyle \mathrm {P} (a,b,c)} แทน a ⋅ b = c {\displaystyle a\cdot b=c} และ N {\displaystyle \mathbb {N} } คือเซตของจำนวนธรรมชาติ แล้ว :

∃ n ∈ N P ( n , n , 25 ) {\displaystyle \exists {n}{\in }\mathbb {N} \mathrm {P} (n,n,25)}

เป็นประโยค (ซึ่งเป็นจริง) :

∃ n ∈ N → n ⋅ n = 25 {\displaystyle {\displaystyle \exists n\in \mathbb {N} \rightarrow n\cdot n=25}}

ในทำนองเดียวกัน ถ้า Q ( n ) {\displaystyle \mathrm {Q} (n)} แทน n ∈ o d d   n u m b e r {\displaystyle n\in \mathrm {odd\ number} } แล้ว :

∃ n ∈ N ( Q ( n ) ∧ P ( n , n , 25 ) ) {\displaystyle \exists {n}{\in }\mathbb {N} \,{\big (}Q(n)\;\!\;\!{\wedge }\;\!\;\!P(n,n,25){\big )}}

เป็นประโยค (ซึ่งเป็นเท็จ)

∃ n ∈ N , n ∈ o d d   n u m b e r ∧ n ⋅ n = 25 {\displaystyle {\displaystyle \exists n\in \mathbb {N} ,n\in \mathrm {odd\ number} \land n\cdot n=25}}

ในเชิงคณิตศาสตร์ การพิสูจน์ตัว "บางตัว" อาจทำได้ในรูปแบบอื่น ซึ่งใช้แทนกันได้ หรือจะพิสูจน์โดยไม่ต้องแสดงเลยว่ายังไงผลลัพธ์ต้องเป็นอย่างนั้นแน่นอน

ใกล้เคียง

ตัวบ่งปริมาณสำหรับทุกตัว ตัวบ่งปริมาณสำหรับตัวมีจริง ตัวบ่งปริมาณ (หนึ่งตัว) ตัวบ่งชี้วัตถุดิจิทัล ตัวบ่งชี้เนื้องอก ตัวต่อนินจา แสบซ่าส์มหากาฬ ตัวจ่ายพลังงานบลูม ตัวบั๊กส์ หัวใจไม่บั๊กส์ ตัวย่อตรรกะพจน์เอสเปรสโซ่ ตัวพ่อเรียกพ่อ