สูตรการเหนี่ยวนำ ของ ตัวเหนี่ยวนำ

ตารางด้านล่างแสดงรายการของสูตรธรรมดาที่ถูกทำให้ง่ายบางสูตรสำหรับการคำนวณค่าการเหนี่ยวนำโดยประมาณของตัวเหนี่ยวนำหลายประเภท

ประเภท สูตร หมายเหตุ
คอยล์แบบแนอากาศทรงกระบอก[17] L = 1 l μ 0 K N 2 A {\displaystyle L={\frac {1}{l}}\mu _{0}KN^{2}A}
  • L = ค่าการเหนี่ยวนำหน่วยเป็น henry (H)
  • μ0 = ค่าการซึมผ่านของอากาศ = 4 π {\displaystyle \pi } × 10−7 H/m
  • K = ค่าสัมประสิทธิ์ของ Nagaoka [17]
  • N = จำนวนรอบ
  • A = พื้นที่หน้าตัดของคอยล์เป็นตารางเมตร (m2)
  • l = ความยาวของคอยล์เป็นเมตร (m)
การคำนวณที่ชัดเจนของค่า K จะซับซ้อน ค่า K ประมาณว่าเป็นหนึ่งเดียวสำหรับคอยล์ตัวหนึ่งซึ่งใหญ่กว่าเส้นผ่าศูนย์กลางของมันอย่างมากและถูกพันด้วยลวดขนาดเล็กมากๆ(เพื่อที่ว่ามันประมาณว่าเป็นหนึ่งแผ่นกระแส)[18]
ตัวเหนี่ยวนำเส้นลวดตรง[19] L = μ 0 2 π ( l ln ⁡ [ 1 c ( l + l 2 + c 2 ) ] − l 2 + c 2 + c + l 4 + c 2 ρ ω μ ) {\displaystyle L={\frac {\mu _{0}}{2\pi }}\left(l\ln \left[{\frac {1}{c}}\left(l+{\sqrt {l^{2}+c^{2}}}\right)\right]-{\sqrt {l^{2}+c^{2}}}+c+{\frac {l}{4+c{\sqrt {{\frac {2}{\rho }}\omega \mu }}}}\right)}
  • L = ค่าการเหนี่ยวนำ
  • l = ความยาวกระบอก
  • c = รัศมีกระบอก
  • μ0 = ค่าการซึมผ่านของอากาศ = 4 π {\displaystyle \pi } × 10−7 H/m
  • μ = ค่าการซึมผ่านของตัวนำ
  • p = ค่าความต้านทาน
  • ω = อัตราของเฟส
ชัดเจนถ้า ω = 0 หรือ ω = ∞
L = 1 5 l [ ln ⁡ ( 4 l d ) − 1 ] {\displaystyle L={\frac {1}{5}}l\left[\ln \left({\frac {4l}{d}}\right)-1\right]}
  • L = inductance (nH)[20][21]
  • l = ความยาวของตัวนำ (mm)
  • d = เส้นผ่าศูนย์กลางของตัวนำ (mm)
  • f = ความถี่
  • ทองแดงหรืออะลูมิเนียม (ตัวอย่าง, ค่าการซึมผ่านสัมพันธ์เป็น 1)
  • l > 100 d[22]
  • d2 f > 1 mm2 MHz
L = 1 5 l [ ln ⁡ ( 4 l d ) − 3 4 ] {\displaystyle L={\frac {1}{5}}l\left[\ln \left({\frac {4l}{d}}\right)-{\frac {3}{4}}\right]}
  • L = ค่าการเหนี่ยวนำ (nH)[21][23]
  • l = ความยาวของตัวนำ (mm)
  • d = เส้นผ่าศูนย์กลางของตัวนำ (mm)
  • f = ความถี่
  • ทองแดงหรืออะลูมิเนียม (ตัวอย่าง, ค่าการซึมผ่านสัมพันธ์เป็น 1)
  • l > 100 d[22]
  • d2 f < 1 mm2 MHz
คอยล์แกนอากาศทรงกระบอกสั้น[24] L = r 2 N 2 9 r + 10 l {\displaystyle L={\frac {r^{2}N^{2}}{9r+10l}}}
  • L = ค่าการเหนี่ยวนำ (µH)
  • r = รัศมีด้านนอกของคอยล์ (นิ้ว)
  • l = ความยาวของคอย์ (นิ้ว)
  • N = จำนวนรอบ
คอยล์แกนอากาศหลายชั้น[ต้องการอ้างอิง] L = 4 5 ⋅ r 2 N 2 6 r + 9 l + 10 d {\displaystyle L={\frac {4}{5}}\cdot {\frac {r^{2}N^{2}}{6r+9l+10d}}}
  • L = ค่าการเหนี่ยวนำ (µH)
  • r = รัศมีเฉลี่ยของคอยล์ (นิ้ว)
  • l = ความยาวจริงของขดลวดของคอยล์ (นิ้ว)
  • N = จำนวนรอบ
  • d = ความลึกของคอยล์ (รัศมีนอกลบด้วยร้ศมีใน) (นิ้ว)
คอยล์แกนอากาศเกลียวแบน[25][ต้องการอ้างอิง] L = r 2 N 2 20 r + 28 d {\displaystyle L={\frac {r^{2}N^{2}}{20r+28d}}}
  • L = ค่าการเหนี่ยวนำ (µH)
  • r = รัศมีเฉลี่ยของคอยล์ (cm)
  • N = จำนวนรอบ
  • d = ความลึกของคอยล์ (รัศมีนอกลบด้วยร้ศมีใน) (cm)
L = r 2 N 2 8 r + 11 d {\displaystyle L={\frac {r^{2}N^{2}}{8r+11d}}}
  • L = ค่าการเหนี่ยวนำ (µH)
  • r = รัศมีเฉลี่ยของคอยล์ (in)
  • N = จำนวนรอบ
  • d = ความลึกของคอยล์ (รัศมีนอกลบด้วยร้ศมีใน) (in)
แม่นยำถึงภายใน 5 เปอร์เซนต์สำหรับ d > 0.2 r.[26]
แกน Toroid (หน้าตัดเป็นวงกลม)[27] L = 0.01595 N 2 ( D − D 2 − d 2 ) {\displaystyle L=0.01595N^{2}\left(D-{\sqrt {D^{2}-d^{2}}}\right)}
  • L = ค่าการเหนี่ยวนำ (µH)
  • d = เส้นผ่าศูนย์กลางของขดลวดของคอยล์ (นิ้ว)
  • N = จำนวนรอบ
  • D = 2 * รัศมีของการหมุน (นิ้ว)
L ≈ 0.007975 d 2 N 2 D {\displaystyle L\approx 0.007975{d^{2}N^{2} \over D}}
  • L = ค่าการเหนี่ยวนำ (µH)
  • d = เส้นผ่าศูนย์กลางของขดลวดของคอยล์ (นิ้ว)
  • N = จำนวนรอบ
  • D = 2 * รัศมีของการหมุน (นิ้ว)
โดยประมาณเมื่อ d < 0.1 D
แกน Toroid (หน้าตัดเป็นสี่เหลี่ยม)[26] L = 0.00508 N 2 h ln ⁡ ( d 2 d 1 ) {\displaystyle L=0.00508N^{2}h\ln \left({\frac {d_{2}}{d_{1}}}\right)}
  • L = ค่าการเหนี่ยวนำ (µH)
  • d1 = เส้นผ่าศูนย์กลางด้านในของ toroid (นิ้ว)
  • d2 = เส้นผ่าศูนย์กลางด้านนอกของ toroid (นิ้ว)
  • N = จำนวนรอบ
  • h = ความสูงของ toroid (นิ้ว)