สาเหตุหลักของรอยบกพร่อง ของ ตำหนิในงานเชื่อม

สมาคมวิศวกรรมเครื่องกล สหรัฐอเมริกา(ASME) แยกย่อยรอยบกพร่องในงานเชื่อมตามสาเหตุ ได้เป็น 45% มาจากการปรับตั้งค่าของกระบวนการเชื่อมไม่เหมาะสม 32% มาจากความผิดพลาดของผู้ปฏิบัติงาน 12% มาจากการใช้เทคนิควิธีการที่ไม่ถูกต้อง 10% มาจากการเลือกใช้ลวดเชื่อมไม่เหมาะสม และ 5% มาจากการเตรียมรอยต่อก่อนการเชื่อมที่ไม่ดีพอ [4]

ไฮโดรเจน เอ็มบริทเทิลเมน

ความเค้นตกค้าง (Residual stresses)

ขนาดของความเค้นที่เกิดขึ้นในงานเชื่อมสามารถคำนวณอย่างคร่าวๆ ได้โดยความเค้นมีค่าดังต่อไปนี้[5]

โดยที่ E คือ ค่า มอดูลัสของยัง   α คือสัมประสิทธ์การขยายตัวทางความร้อน และ ΔT คือผลต่างของอุณหภูมิ  ในการเชื่อมเหล็กกล้า ความเค้นที่คำนวณได้จากวิธีการดังกล่าวนี้คิดเป็นประมาณ 3.5 GPa (510 ksi)

ใกล้เคียง

ตำหนิในงานเชื่อม ตำหนิแต่กำเนิด ตำหนักซานดริงแฮม ตำหนัก ตำหนักเจ้าดารารัศมี พระราชชายา ตำหนักสวนจิตรลดา ตำหนักออสบอร์น ตำหนักพระองค์เจ้าอัพภันตรีปชาและพระองค์เจ้าทิพยาลังการ ตำหนักประถม-นนทบุรี ตำหนักจงหนันไห่

แหล่งที่มา

WikiPedia: ตำหนิในงานเชื่อม http://www.aws.org/wj/jan04/still_feature.html http://www.webcitation.org/5lnmtLCCy http://www.webcitation.org/5lp4O9zyW http://www.webcitation.org/5lpDLc6Iw http://www.webcitation.org/5lpLTHRZo http://www.webcitation.org/5lpX2E1S7 http://www.webcitation.org/5lpXkrGfA http://www.webcitation.org/5lpYdb66E http://www.staff.ncl.ac.uk/s.j.bull/mmm373/WFAULT/... http://www.staff.ncl.ac.uk/s.j.bull/mmm373/WFAULT/...