เชิงอรรถและอ้างอิง ของ ถนนอิสรภาพ

  1. กองนโยบายและแผนงาน. สำนักผังเมือง. กรุงเทพมหานคร. รายงานการศึกษา เรื่อง โครงข่ายถนนและทางพิเศษในเขตกรุงเทพมหานคร. [ม.ป.ท.], 2551.
  2. แนวถนนช่วงดังกล่าวปรากฏอยู่ในแผนที่กรุงเทพฯ ตอนใน ฉบับปี พ.ศ. 2453 ซึ่งเป็นช่วงรอยต่อระหว่างรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว; กรมแผนที่ทหาร. กองบัญชาการทหารสูงสุด. แผนที่กรุงเทพฯ พ.ศ. 2431-2474 = Maps of Bangkok, A.D. 1888-1931. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: กรมแผนที่ทหาร, 2542.
  3. ปัจจุบันบริเวณปากพิงอยู่ในท้องที่ตำบลงิ้วงามและตำบลวังน้ำคู้ ทางตอนใต้ของอำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก
  4. พจนานุกรมวิสามานยนามไทย : วัด วัง ถนน สะพาน ป้อม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ระบุว่าถนนปากพิงคือ "แนวถนนอิสรภาพส่วนที่หักเลี้ยวตัดตรงไปถึงวัดอมรินทราราม กรุงเทพมหานคร"; กนกวลี ชูชัยยะ. พจนานุกรมวิสามานยนามไทย : วัด วัง ถนน สะพาน ป้อม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 187.
  5. 1 2 กนกวลี ชูชัยยะ. พจนานุกรมวิสามานยนามไทย : วัด วัง ถนน สะพาน ป้อม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 56.
  6. 1 2 สำนักงานปกครองและทะเบียน. สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร. "โปรแกรมจัดทำข้อมูลถนน ตรอก ซอย วงเวียน ทางแยก คลอง สะพาน และสถานที่สำคัญในเขตกรุงเทพมหานคร." [โปรแกรมประยุกต์]. [ม.ป.ป.]. สืบค้น 20 สิงหาคม 2559.
บทความเกี่ยวกับการเดินทาง การคมนาคม และการขนส่งนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล