ทรงกลมบล็อค
ทรงกลมบล็อค

ทรงกลมบล็อค

ทรงกลมบล็อค (Bloch-Kugel) ตั้งชื่อตาม เฟลิกซ์ บล็อค นักฟิสิกส์ชาวสวิส[1] เป็นรูปแบบสำหรับแสดง สถานะทางควอนตัม บนทรงกลมหน่วย โดยการซ้อนทับกันของสถานะบริสุทธิ์สองสถานะที่ตั้งฉากกัน ดังนั้นสถานะที่บริสุทธิ์ของคิวบิตจึงสามารถแสดงเป็นจุดบนทรงกลมบล็อคได้สถานะบริสุทธิ์ใด ๆ | ψ ⟩ {\displaystyle |\psi \rangle } ของคิวบิตสามารถแสดงได้โดยการซ้อนทับของ | 0 ⟩ {\displaystyle |0\rangle } และ | 1 ⟩ {\displaystyle |1\rangle } ดังนี้ถ้า (θ, φ) ในสมการนี้ถูกมองว่าเป็นพิกัดเชิงขั้วของจุดบนทรงกลมบล็อค | ψ ⟩ {\displaystyle |\psi \rangle } สามารถแสดงได้ดังรูปด้านขวาด้วยเหตุผลทางประวัติศาสตร์ทรงกลมบล็อคที่ใช้ในทางทัศนศาสตร์เพื่อแสดงสถานะของโพลาไรเซชันจะถูกเรียกว่าทรงกลมปวงกาเร