ทางหลวงพิเศษในอดีต ของ ทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองในประเทศไทย

ในอดีตมีการจัดทางหลวงบางสายทางให้เป็นทางหลวงพิเศษ (ป้ายเลขทางหลวงและป้ายบอกทางจะมีพื้นหลังสีเขียวและตัวอักษรสีขาว) โดยปัจจุบันสายทางเหล่านี้ถูกเปลี่ยนประเภททางหลวงเป็นประเภทอื่น

รายชื่อสายทางที่เคยเป็นทางหลวงพิเศษ
หมายเลขสายทางชื่อถนนสถานะในอดีตสถานะปัจจุบันหมายเหตุ
7ชลบุรี–แหลมฉบัง–พัทยาถนนชลบุรี–พัทยา ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 (ไม่เก็บค่าผ่าทาง) ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 (เก็บค่าผ่าทางและควบคุมการเข้าออกเต็มรูปแบบ)เชื่อมต่อกับทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 ให้เป็นสายทางเดียวกัน และมีการเก็บค่าผ่านทาง
31ดินแดง-อนุสรณ์สถานถนนวิภาวดีรังสิต ทางหลวงพิเศษหมายเลข 31 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 31
35ดาวคะนอง–วังมะนาวถนนพระรามที่ 2 ทางหลวงพิเศษหมายเลข 35 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 35มีประกาศในราชกิจจานุเบกษา ให้เปลี่ยนประเภททางหลวง จากทางหลวงพิเศษ เป็นทางหลวงแผ่นดิน โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2556[2]
37บางขุนเทียน–พระประแดงถนนกาญจนาภิเษก (ด้านใต้)ทางหลวงพิเศษหมายเลข 37 ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 (ทางพิเศษกาญจนาภิเษก)รวมเป็นสายทางเดียวกับทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 และหมายเลขทางหลวง 37 ถูกนำไปใช้งานกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 37 (เลี่ยงเมืองชะอำ–ปราณบุรี)
338อรุณอมรินทร์–นครชัยศรีถนนบรมราชชนนี ทางหลวงพิเศษหมายเลข 338 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 338มีประกาศในราชกิจจานุเบกษา ให้เปลี่ยนประเภททางหลวง จากทางหลวงพิเศษ เป็นทางหลวงแผ่นดิน โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2556[3]

ใกล้เคียง

ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 ทางหลวงในประเทศไทย ทางหลวงพิเศษหมายเลข 6 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 24 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212 ทางหลวงไตรภาคีอินเดีย–พม่า–ไทย ทางหลวงสายเอเชีย ทางหลวงพิเศษหมายเลข 81