ความสัมพันธ์ทางการทูต ของ นโยบายจีนเดียว

สถานทูตจีนใน แคนเบอร์รา, ออสเตรเลีย ซึ่งออสเตรเลียไม่ได้ยอมรับไต้หวันสถานทูตไต้หวันในสวาซิแลนด์. สวาซิแลนด์ไม่มีความสัมพันธ์ทางการทูตกับจีนแผ่นดินใหญ่

นโยบายจีนเดียวยังเป็นความสำคัญสำหรับการเมืองเพื่อแสดงให้เห็นความสัมพันธ์ทางการทูตกับจีนแผ่นดินใหญ่เนื่องจากการกลายเป็นค่านิยมที่ทุกชาติทราบกันทั่วไปว่า จีน หมายถึงจีนแผ่นดินใหญ่ไม่ใช่ไต้หวัน อย่างไรก็ตามหลายชาติไม่ต้องการให้เรื่องนี้เป็นเรื่องพิเศษเพราะต้องการรักษาความสัมพันธ์กับทั้งสองประเทศไว้ บางประเทศใช้เงื่อนไขว่า"ยอมรับ","เข้าใจ" ในขณะที่ประเทศอื่นในข้อบังคับใช้คำว่า"สนับสนุน"หรือ"รับรู้" สำหรับปักกิ่งเป็นตำแหน่งสถานะของไต้หวัน

ชื่อ "จีนไทเป" ใช้ในระหว่างประเทศตั้งแต่ที่ไต้หวันใช้ชื่อว่า "ไต้หวัน" ซึ่งบ่งบอกว่าเป็นประเทศแยกออกและชื่อ "สาธารณรัฐจีน" บ่งบอกว่ามีสองจีน ดังนั้นชื่อทั้งสองละเมิดหลักการนโยบายจีนเดียว ชื่อไต้หวันเคยเป็นชื่อย่อของสหภาพระหว่างไต้หวัน, เกาะเผิงหู, หมู่เกาะจินเหมิน และเกาะมัตสึ ตัวอย่างเช่นในนโยบายต่างประเทศและความมั่นคงยุโรป (CFSP)

ประเทศส่วนใหญ่ยอมรับจีนแผ่นใหญ่ในทางการทูตจึงตั้งสำนักงานเศรษฐกิจขึ้นเพื่อทำหน้าที่แทนในการติดต่อกับไต้หวัน ขณะที่ไต้หวันมีสำนักงานเศรษฐกิจและวัฒนธรรมไทเป(TECRO) ทำหน้าที่เป็นสถานทูตโดยพฤตินัยเพื่อติดต่อกับประเทศอื่นๆ

สำหรับฟิลิปปินส์ สถานทูตที่ไม่เป็นทางการเรียกสำนักงานเศรษฐกิจและวัฒนธรรมมะนิลา ถึงแม้ว่าจะเป็นสำนักงานเศรษฐกิจและวัฒนธรรมแต่ที่เว็บไซต์ปรากฏชัดเจนว่าสำนักงานตัวแทนฟิลิปปินส์ในไต้หวัน และยังมีบริการต่างๆอย่างเช่นการทำวีซ่าและพาสปอร์ต

ใกล้เคียง

นโยบายการขอรับลงตราของประเทศไทย นโยบายไวต์ออสเตรเลีย นโยบายพลังงานแห่งชาติปากีสถาน นโยบายสาธารณะ นโยบายการเงิน นโยบายการขอรับลงตราของประเทศลาว นโยบายต่างประเทศของอิหร่าน นโยบายเศรษฐกิจ นโยบายจีนเดียว นโยบายการคลัง