ปฏิกิริยาเบลูซอฟ–จาโบทินสกี
ปฏิกิริยาเบลูซอฟ–จาโบทินสกี

ปฏิกิริยาเบลูซอฟ–จาโบทินสกี

ปฏิกิริยาเบลูซอฟจาโบทินสกี (อังกฤษ: Belousov–Zhabotinsky reaction) หรือ ปฏิกิริยาบีซี (อังกฤษ: BZ reaction) คือ หนึ่งในกลุ่มของปฏิกิริยาที่เป็นตัวอย่างดังเดิมของอุณหพลศาสตร์แบบไม่สมดุล (non-equilibrium thermodynamics) ซึ่งทำให้เกิดตัวแกว่งสารเคมีไม่เชิงเส้น (nonlinear chemical oscillator) โดยธาติที่มีส่วนในระบบการแกว่งนี้มีเพียงโบรมีนและกรดเท่านั้น ปฏิกิริยานี้มีความสำคัญด้วยความที่ทำให้เห็นว่าปฏิกิริยาทางเคมีนั้นไม่จำเป็นต้องมีพฤติกรรมแบบอุณหพลศาสตร์แบบสมดุล ปฏิกิริยาเหล่านี้นั้นไกลจากความสมดุลและมีการเปลี่ยนแปลงแบบอลวนในระยะเวลาหนึ่ง เพราะอย่างนี้ ปฏิกิริยานี้จึงเป็นต้นแบบทางเคมีที่น่าสนใจของปรากฏการณ์ทางชีววิทยาแบบไม่สมดุล อีกทั้งต้นแบบทางคณิตศาสตร์ของปฏิกิริยาบีซีเองยังเป็นทฤษฎีและการจำลองที่น่าสนใจ[1]มุมมองที่สำคัญมุมหนึ่งของปฏิกิริยาบีซีคือความสามารถในการ "ถูกกระตุ้น" ภายใต้ตัวกระตุ้น ส่งผลให้เกิดรูปแบบบนตัวกลางที่เคยอยู่อย่างสงบ  

ใกล้เคียง

ปฏิกิริยาต่อการรุกรานยูเครนโดยรัสเซีย ปฏิกิริยานิวเคลียร์ ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ปฏิกิริยาต่อการประท้วงในประเทศไทย พ.ศ. 2563–2564 ปฏิกิริยาของนานาชาติต่อสงครามอิสราเอล–ฮะมาส พ.ศ. 2566 ปฏิกิริยาของนานาชาติต่อรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 ปฏิกิริยาฟอสฟอรีเลชัน ปฏิกิริยามายาร์ ปฏิกิริยาลูกโซ่พอลิเมอเรส ปฏิกิริยารีดอกซ์