หมายเหตุ ของ ประสาทสัมพันธ์แห่งการรับรู้อารมณ์

  1. Koch 2004, Figure 1.1 The Neuronal Correlates of Consciousness p. 16.
  2. อารมณ์ ในที่นี้หมายถึง "สิ่งที่ยึดหน่วงจิตโดยผ่านทางตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ เช่น เสียงเป็นอารมณ์ของหู" ดู วิกิพจนานุกรม
  3. Koch 2004, p. 304.
  4. Squire 2008, p. 1223.
  5. Kandel 2007, p. 382.
  6. Jeffrey M. Schwartz, Henry P. Stapp, Mario Beauregard. "Quantum physics in neuroscience and psychology: A neurophysiological model of mind/brain interaction" (PDF).CS1 maint: Multiple names: authors list (link)
  7. Koch and Hepp 2006
  8. คือไม่จำเป็นเพื่ออธิบายปรากฏการณ์ในสมองที่สามารถวัดได้โดยเทคโนโลยีปัจจุบัน
  9. See Chalmers 1998, available online.
  10. Zeman 2001
  11. ในการหลับฝันนั้น มีการรับรู้อารมณ์อย่างชัดเจน แม้ว่าโดยปกติจะจำไม่ได้
  12. คือจังหวะของระบบชีวภาพที่เป็นไปตามจังหวะ 24 ชั่วโมง เช่นสัตว์หากินกลางวันเกิดนอนตอนกลางคืน เป็นจังหวะที่มีอยู่ในพืช สัตว์ เชื้อรา แบคทีเรียบางประเภท
  13. Schiff 2004
  14. โรคลมชัก (อังกฤษ: epilepsy) เป็นคำเรียกโรคประสาทเรื้อรังหลายประเภทที่มีอาการเฉพาะคือการชัก การจำกัดความของโรคลมชักบางอย่างกำหนดว่าการชักต้องเกิดแบบซ้ำ ๆ และเกิดโดยไม่มีตัวกระตุ้น แต่การจำกัดความอย่างอื่นกำหนดเพียงแค่การชักครั้งเดียวและการแปรเปลี่ยนในสมองที่เพิ่มโอกาสให้เกิดการชักขึ้นอีกในอนาคต ในคนไข้หลาย ๆ กรณี แพทย์ไม่สามารถชี้ตัวเหตุของโรคได้ แต่ว่า องค์ประกอบของโรคก็คือการบาดเจ็บในสมอง โรคหลอดเลือดสมอง มะเร็งสมอง การใช้ยาผิด ๆ และการดื่มสุราเป็นต้น
  15. Tononi 2004
  16. Koch 2004,Figure 16.1 The Bistable Necker Cube, p. 270.
  17. Kim and Blake 2004
  18. Logothetis 1998
  19. Rees and Frith 2007
  20. Haynes and Rees 2005
  21. Lee et al. 2007
  22. Diffusion tensor imaging (ตัวย่อ DTI) เป็นเทคนิคในการสร้างภาพ MRI ที่สามารถทำให้วัดการแพร่ (diffusion) ของโมเลกุลน้ำในเนื้อเยื่อเพื่อที่จะสร้างภาพใยประสาท แทนที่จะใช้ค่าวัดนั้นในการกำหนดค่าความต่างหรือสีของพิกเซลในภาพ นอกจากนั้นแล้ว DTI ยังสามารถให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงสร้างของกล้ามเนื้อรวมทั้งหัวใจ และเนื้อเยื่อประเภทอื่น ๆ เช่นต่อมลูกหมาก DTI เป็นวิธีหนึ่งของการสร้างภาพโดย Diffusion MRI
  23. Shimono and Niki 2013
  24. 1 2 Crick and Koch 1995
  25. คือลิงเห็นรูปใหม่ทันทีที่มีการฉายวาบรูปใหม่เข้าไปในตาอีกข้างหนึ่ง ซึ่งไม่เหมือนในเทคนิคการแข่งขันระหว่างสองตา ที่ไม่สามารถกำหนดว่า ลิงเห็นอะไรในระหว่างรูปที่ต่างกันที่ปรากฏที่ตาแต่ละข้าง
  26. Leopold and Logothetis 1996
  27. Sheinberg and Logothetis 1997
  28. Kreiman et al. 2002
  29. คือ เมื่อแพทย์เปิดกะโหลกศีรษะของคนไข้เพื่อเช็คว่า ส่วนใดของสมองเป็นเหตุให้เกิดการชัก ในขณะเดียวกัน ด้วยความยินยอมจากคนไข้ ก็ทดลองด้วยการอำพรางแบบวาบ โดยใช้อีเลคโทรดบันทึกการยิงสัญญาณจากเซลล์ ๆ เดียวในส่วนของสมองที่เป็นจุดสนใจ เป็นวิธีวัดผลการทดลองที่โดยปกติไม่ทำในมนุษย์ เพราะต้องใส่เครื่องมือการวัดเข้าไปในอวัยวะภายใน
  30. Koch 2004, Figure 5.1 The Cholinergic Enabling System p. 92. See Chapter 5, available on line.
  31. ค่าโบลด์แสดงถึงการทำงานของสมองเฉพาะส่วน เป็นเทคนิคที่ใช้ความแตกต่างของปฏิกิริยาต่อสนามแม่เหล็กของเมล็ดเลือดที่ประกอบด้วยออกซิเจนและที่ไม่ได้ประกอบด้วยออกซิเจน ส่วนของสมองที่กำลังทำงานอยู่เป็นส่วนที่มีการเดินโลหิตจากเดิมที่ไม่มีออกซิเจนไปสู่โลหิตที่มีออกซิเจน
  32. Owen et al. 2006
  33. ความใบ้แบบไม่เคลื่อนไหว (akinetic mutism) เป็นศัพท์ทางแพทย์ที่ใช้พรรณาถึงคนไข้ที่มักจะไม่มีการเคลื่อนไหว และมักจะไม่พูด เป็นผลจากความเสียหายในสมองกลีบหน้าผากที่ทำให้เกิดความไม่มีการตอบสนองที่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ และการพูดและการเคลื่อนไหวที่น้อยลงเรื่อย ๆ
  34. Laureys 2005
  35. Blumenfeld et al. 2004
  36. reticular activating system (RAS) หรือ extrathalamic control modulatory system เป็นเซตของนิวเคลียสเซลล์ประสาทที่เชื่อมต่อกันในสมองของสัตว์มีกระดูกสันหลัง ทำหน้าที่ควบคุมความตื่นตัว (arousal) และการตื่นหลับ (sleep-wake transitions) ระบบย่อยที่สำคัญที่สุดของ RAS คือ reticular formation
  37. Villablanca 2004
  38. Bogen 1995
  39. 1 2 Milner and Goodale 1995
  40. Koch and Crick 2001
  41. เพลงประพันธ์สำหรับเปียโนมี 3-4 ส่วน แต่ละส่วน ๆ สมบูรณ์อยู่ในตน
  42. Beilock et al. 2002
  43. Thorpe et al. 1996
  44. VanRullen and Koch 2003
  45. คือ ถ้ามีการส่งสัญญาณป้อนกลับ เวลาที่จำเป็นในการให้เกิดปฏิกิริยาต้องยาวนานกว่า 100 มิลลิวินาที
  46. Baars 1988
  47. Dehaene et al. 2003

ใกล้เคียง

ประสาทสัมผัส ประสาร ไตรรัตน์วรกุล ประสาทสัมพันธ์แห่งการรับรู้อารมณ์ ประสาทหลอนเสียงดนตรี ประสาทสมอง ประสาทวิทยาศาสตร์ ประสาท ตันประเสริฐ ประสาท สืบค้า ประสาน ศิลป์จารุ ประสาทกายวิภาคศาสตร์

แหล่งที่มา

WikiPedia: ประสาทสัมพันธ์แห่งการรับรู้อารมณ์ http://books.google.com/books?id=7L9qAAAAMAAJ http://books.google.com/books?id=PFnRwWXzypgC http://www-physics.lbl.gov/~stapp/PTB6.pdf http://consc.net/papers/ncc2.html http://brain.oxfordjournals.org/content/124/7/1263... http://www.scholarpedia.org/article/Neuronal_corre... http://www.theswartzfoundation.org/papers/caltech/... http://th.wiktionary.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E...