การยุบรวมกับพรรคไทยรักไทย ของ พรรคความหวังใหม่

หลังการเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2544 พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร หัวหน้าพรรคไทยรักไทยขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี พรรคความหวังใหม่ได้เข้าร่วมรัฐบาล หลังจากนั้นไม่นาน มีการควบรวมพรรคความหวังใหม่ เข้ากับ พรรคไทยรักไทย[11] โดยที่สมาชิก พรรคความหวังใหม่ ส่วนใหญ่ไปเข้าร่วมกับ พรรคไทยรักไทย(พรรครัฐบาล)พร้อมกับ พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ หัวหน้าพรรค ยกเว้นพันโทหญิงฐิฏา รังสิตพล มานิตกุลสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และ รองเลขาธิการพรรค ที่ย้ายไปพรรคประชาธิปัตย์ (พรรคฝ่ายค้าน) จนถึงปัจจุบันยังคงเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนเดียวที่ย้ายจากพรรคฝ่ายรัฐบาลไปพรรคฝ่ายค้าน ระหว่างดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร[12]

ใกล้เคียง

พรรคความหวังใหม่ พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย พรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซีย พรรคครูไทยเพื่อประชาชน พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา พรรคคอมมิวนิสต์จีน พรรคคอมมิวนิสต์ญี่ปุ่น พรรคคอมมิวนิสต์ (พม่า) พรรคคอมมิวนิสต์มลายา พรรคคอมมิวนิสต์ฮังการี

แหล่งที่มา

WikiPedia: พรรคความหวังใหม่ http://www.tamsabye.com/index.php?name=news&file=r... http://archive.li/uMrWf http://www.komchadluek.net/e2548/reference/index.p... http://www.ect.go.th/newweb/upload/cms02/download/... http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2533/A/... http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2533/A/... http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2538/D/... http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2540/D/... http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2542/E/... http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2543/E/...