การฉลอง ของ พระคริสตราชา

ปี ค.ศ. 1925 สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 11 ทรงออกสมณสาส์น Quas primas กำหนดวัดฉลองพระเยซูคริสตเจ้ากษัตริย์ เพื่อตอบโต้กระแสชาตินิยมและฆราวาสนิยมที่พยายามแยกรัฐออกจากศาสนจักร[8] โดยกำหนดวันฉลองให้ตรงกับวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนตุลาคม และก่อนวันสมโภชนักบุญทั้งหลาย[9] ในปี ค.ศ. 1960 สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 23 ได้กำหนดให้เป็นวันฉลองอันดับหนึ่ง

ปี ค.ศ. 1969 สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 6 ทรงกำหนดชื่อและสถานะใหม่เป็น วันสมโภชพระเยซูเจ้ากษัตริย์แห่งสากลจักรวาล (Our Lord Jesus Christ King of the Universe) และกำหนดเป็นวันสมโภช[10]ในวันอาทิตย์สุดท้ายของเทศกาลธรรมดา[11]

ใกล้เคียง

พระครูสมุทรธรรมสุนทร (สุด สิริธโร) พระครูภาวนาภิรัต (ทิม อิสริโก) พระครูปริยัติกิจธำรง (สมหวัง อคฺคเสโน) พระครูญาณวิลาศ (แดง รตฺโต) พระครูนิวาสธรรมขันธ์ (เดิม พุทฺธสโร) พระครูประสาธน์ขันธคุณ (มุม อินทปญโญ) พระครูวิเวกพุทธกิจ (เสาร์ กนฺตสีโล) พระครูวิหารกิจจานุการ (ปาน โสนนฺโท) พระครูวิมลคุณากร (ศุข เกสโร) พระครูภาวนากิจจาภิรม (สมชาย จีรปุญฺโญ)