สมณศักดิ์ ของ พระวิสุทธิวงศาจารย์_(วิเชียร_อโนมคุโณ)

  • พ.ศ. 2516 ได้รับพระราชทานแต่งตั้งสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญที่ พระเมธีวราภรณ์[2]
  • พ.ศ. 2527 ได้รับพระราชทานเลื่อนตั้งสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นราชที่ พระราชปริยัติกวี ตรีปิฎกบัณฑิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี[3]
  • พ.ศ. 2535 ได้รับพระราชทานเลื่อนตั้งสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นเทพที่ พระเทพสุธี ธรรมปรีชาญาณดิลก ตรีปิฎกบัณฑิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี[4]
  • พ.ศ. 2541 ได้รับพระราชทานเลื่อนตั้งสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นธรรมที่ พระธรรมธีรราชมหามุนี คัมภีรญาณวิมล โสภณธรรมานุสิต ตรีปิฎกบัณฑิตมหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี[5]
  • พ.ศ. 2549 ได้รับพระราชทานสถาปนาสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองชั้นหิรัญบัฏที่ พระวิสุทธิวงศาจารย์ ญาณทัศนวิกรม พรหมจริยาธิมุต วิสุทธิธรรมานุจารี ตรีปิฎกบัณฑิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี[6]

ใกล้เคียง

พระวิษณุ พระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา พระวิหารของซาโลมอน พระวิหารในกรุงเยรูซาเลม พระวินัยปิฎก พระวิมลธรรมภาณ (วิเวียร ฐิตปุญฺโญ) พระวิสุทธิกษัตรีย์ พระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราช พระวิศวกรรม พระวิสุทธิรังษี (เปลี่ยน อินฺทสโร)