การคำนวณ ของ พลังงานการสลายตัว

ความต่างของพลังงานของรีเอเจนต์เขียนแทนด้วย Q:

Q = ( Kinetic energy ) after − ( Kinetic energy ) before {\displaystyle Q=({\text{Kinetic energy}})_{\text{after}}-({\text{Kinetic energy}})_{\text{before}}\,\!} Q = ( ( Rest mass ) after ∗ c 2 ) − ( ( Rest mass ) before ∗ c 2 ) {\displaystyle Q=(({\text{Rest mass}})_{\text{after}}*c^{2})-(({\text{Rest mass}})_{\text{before}}*c^{2})\,\!}

พลังงานการสลายตัวปกติมีหน่วยพลังงานเป็น MeV (ล้านอิเล็กตรอนโวลต์) หรือ KeV (กิโลอิเล็กตรอนโวลต์)

รูปแบบของการสลายตัวของสารกัมมันตรังสียังรวมถึง

พลังงานการสลายตัวเป็นมวลที่แตกต่าง (dm) ระหว่างต้นกำเนิดและลูกของอะตอมและอนุภาค จะเท่ากับพลังงานของรังสี (E) ถ้า A เป็นอัตราการสลายตัวของกัมมันตภาพรังสี คือจำนวนของอะตอมที่เปลี่ยนแปลงต่อเวลา M คือมวลโมเลกุล แล้ว พลังงานการแผ่รังสี (W) คือ:

W = d m ∗ ( A M ) {\displaystyle W=dm*\left({\frac {A}{M}}\right)\,\!} หรือ W = E ∗ ( A M ) {\displaystyle W=E*\left({\frac {A}{M}}\right)\,\!}

ตัวอย่าง: โคบอลต์-60สลายกลายเป็น Ni60 ความแตกต่างของมวล dm คือ 0.003u พลังงานการแผ่รังสีมีค่าประมาณ 2.8 MeV น้ำหนักโมเลกุลคือ 59.93 ครึ่งชีวิต (T) ของ 5.7a สอดคล้องกับการสลายตัว A=N*ln(2)/T, เมื่อ N คือจำนวนอะตอมต่อโมล ดังนั้นพลังงานการแผ่รังสีหนึ่งหน่วยสำหรับ Co60 คือ 17.9 W/g

พลังงานการแผ่รังสี W/g สำหรับไอโซโทปต่างๆ:

Co60: 17.9Pu238: 0.57Cs137: 0.6Am241: 0.1Po210: 140 (T=136 d)Sr90: 0.9

ใกล้เคียง

พลังงานนิวเคลียร์ พลังงานทดแทน พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงาน พลังงานอิสระทางอุณหพลศาสตร์ พลังงานฟิวชัน พลังงานลม พลังงานความร้อนใต้พิภพ พลังงานในประเทศไทย พลังงานไอออไนเซชันของธาตุ (หน้าข้อมูล)