ฟุตบอลทีมชาติอาร์มีเนีย

ฟุตบอลทีมชาติอาร์มีเนีย (อาร์มีเนีย: Հայաստանի ֆուտբոլի ազգային հավաքական, Hayastani futboli azgayin havak'akan) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของประเทศอาร์มีเนีย อยู่ภายใต้การควบคุมของสหพันธ์ฟุตบอลอาร์มีเนียซึ่งบริหารฟุตบอลในประเทศอาร์มีเนีย ทีมชาติได้ลงแข่งขันครั้งแรกเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม ค.ศ. 1992 หลังจากที่ประเทศได้รับเอกราชจากสหภาพโซเวียต และได้เข้าร่วมแข่งขันรอบคัดเลือกของรายการแข่งขันใหญ่ แต่ก็ไม่เคยผ่านเข้าไปเล่นในรอบสุดท้ายของฟุตบอลโลกหรือฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปเลย[4] ผลงานในรอบคัดเลือกที่ดีที่สุดคือจบอันดับที่สามของกลุ่ม บี ในฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2012 รอบคัดเลือก[5]ทีมชาติมีสนามซ้อมอยู่ที่เขตอาวันทางตอนเหนือของเยเรวาน และมีสนามเหย้าที่ชื่อว่าสนามกีฬาสาธารณรัฐ

ฟุตบอลทีมชาติอาร์มีเนีย

ฉายา Հավաքական, Havaqakan ("The Collective team")
รหัสฟีฟ่า ARM
สมาคม สหพันธ์ฟุตบอลอาร์มีเนีย
อันดับฟีฟ่าต่ำสุด 159 (กรกฎาคม 1994)
สมาพันธ์ ยูฟ่า (ยุโรป)
อันดับอีแอลโอสูงสุด 65 (27 พฤษภาคม 2014)
อันดับอีแอลโอ 93 (2 เมษายน 2020)
สนามเหย้า สนามกีฬาสาธารณรัฐวัซแกน ซาร์กซียัน,[2]
สนามกีฬาเฮอรัซดัน
อันดับฟีฟ่าสูงสุด 30 (กุมภาพันธ์ 2014)
ทำประตูสูงสุด แฮนริค มะคีทาเรียน (29)
อันดับอีแอลโอต่ำสุด 126 (พฤษภาคม 1995)
กัปตัน แฮนริค มะคีทาเรียน
หัวหน้าผู้ฝึกสอน โฆอากิน กาปาร์โรส
ติดทีมชาติสูงสุด ซาร์กิส ฮอฟแซพียัน (132)[1]
อันดับฟีฟ่า 96 2 (19 กันยายน 2562)[3]

ใกล้เคียง

ฟุตบอลทีมชาติไทย ฟุตบอลโลก ฟุตบอลทีมชาติเกาหลีใต้ ฟุตบอลทีมชาติอังกฤษ ฟุตบอล ฟุตบอลทีมชาติเยอรมนี ฟุตบอลทีมชาติอาร์เจนตินา ฟุตบอลทีมชาติบราซิล ฟุตบอลทีมชาติอิตาลี ฟุตบอลโลก 2026 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย – รอบที่ 2

แหล่งที่มา

WikiPedia: ฟุตบอลทีมชาติอาร์มีเนีย http://www.ffa.am/en http://www.ffa.am/en/About-us http://www.armfootball.com http://www.national-football-teams.com/v2/country.... http://www.rsssf.com/miscellaneous/arme-recintlp.h... http://www.rsssf.com/tablesa/arme-intres.html http://armfootball.tripod.com/id8.html http://armfootball.tripod.com/index.html http://www.uefa.com/memberassociations/association... http://eu-football.info/_team.php?id=9