ระบบการเขียน ของ ภาษาญัฮกุร

ตัวเขียนภาษาญัฮกุรอักษรไทยตามที่คณะกรรมการจัดทำระบบเขียนภาษาท้องถิ่นของกลุ่มชาติพันธุ์ด้วยอักษรไทย สำนักงานราชบัณฑิตยสภา ได้กำหนดไว้ มีดังนี้

พยัญชนะ
อักษรไทย/
สัญลักษณ์
เสียงตัวอย่างคำความหมาย
/k/าʔปลา
วัก่แขวน
/kʰ/คุย่กุ้ง
/ŋ/งียก่ฟัน
ชวขวาน
/c/จีช้าง
คลีหมู
/cʰ/ชุหมา
/s/ส้ม
/ç/ลัซ่ผลิใบ
/ɲ/ญ็ใกล้
ปูนอน
/d/ดิกระบอกไม้ไผ่
/t/ (เมื่อเป็นพยัญชนะท้าย)มัด่นัยน์ตา
/t/ (เมื่อเป็นพยัญชนะต้น)ะดาจหวาน
/tʰ/ทีʔเต่า
/n/จ่ผ้า
กวลูก
/b/บูมีด
/p/ (เมื่อเป็นพยัญชนะท้าย)ทึบ่โง่
/p/ (เมื่อเป็นพยัญชนะต้น)ข้าว
/pʰ/อง่ไข่
/f/ฟัาʔไฟฟ้า, ไฟฉาย
/m/มียว่แมว
คะยาม่จิ้งหรีด
/j/ยุยุชะนี
ชาย่แย้
/r/รูย่แมลงวัน
กะมุหลังคา
/l/ลูง่พระสงฆ์
ตะบัแก้ม
/w/วีกระด้ง
กาดอกไม้
/ʔ/ (เมื่อเป็นพยัญชนะต้น)อีอึ่งอ่าง
/h/ฮุต่อ (แมลง)
ริฮ่รากไม้
ฮง/ŋ̥/ฮงุกระบะไฟ
ฮน/n̥/ฮนูลิง
ฮม/m̥/ฮมุหมี
ฮร/r̥/ฮร็จ่เกี่ยว (ข้าว)
ฮล/l̥/ฮลีข้าวโพด
ฮว/w̥/ฮวาซ่ก้าว
ไม่มีรูป/ʔ/ (เมื่อเป็นพยัญชนะท้าย
และตามหลังสระเสียงสั้น)
เตะนั้น
ควะ่อาย
ʔ/ʔ/ (เมื่อเป็นพยัญชนะท้าย
และตามหลังสระเสียงยาว)
ฮึโลʔหอย
ปาʔนานทำไม
  • ฮง, ฮน, ฮม, ฮร, ฮล และ ฮว เป็นทวิอักษร
  • พยางค์นาสิกเขียนแทนด้วยรูป ฮึ เช่น /peːɲ/ ฮึเปญ,
    /taːm/ ฮึตาม, /ɲ̩ciam/ ฮึเจียม, /ŋ̩kaːç/ ฮึกาซ
สระ
อักษรไทยเสียงตัวอย่างคำความหมาย
–ะ/a/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย
และอยู่ในคำหลายพยางค์
หรือเมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/)
ครุง่หัวเราะ
โตกปตุลหกคะเมนตีลังกา
ะ่พ่อ
–ั/a/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายที่ไม่ใช่ /ʔ/
และ /w/)
ญัคน, กลุ่มชน
นัดี
–า/aː/ฮนʔกระแต
–ิ/i/ริฮ่รากไม้
–ี/iː/นีหวี
–ึ/ɯ/ลึแตงโม
–ื/ɯː/ชุร่พืน่แมงป่องช้าง
–ุ/u/รุจ่ผักหวาน
–ู/uː/ชูห้า
เ–ะ/e/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/)นั้น
เ–็/e/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น)เพ็ฮ่เธอ, คุณ
เ–/eː/ฮึปญเสือ
แ–ะ/æ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/)คลเละ
แ–็/æ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น)แช็ม้า
แ–/æː/นา
โ–ะ/o/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/)ะโะ่ฟัง
โ–็/o/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น)โพ็เห่า
โ–/oː/ปรกกระรอก
เ–าะ/ɔ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/)าะสวย
–็อ/ɔ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น)ล็อเปิดทางน้ำ
–อ/ɔː/กะชʔบอก
เ–อะ/ɤ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/)กะทอะ่ข้นคลั่ก
เ–อ/ɤː/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย)ใน
เ–ิ/ɤː/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย)เคิข้อง
เ–็อฺ/ʌ/เต็อฺถือ
เ–า/aw/มดแดง
เ–ีย/ia/รียควาย
เ–ือ/ɯa/เลือย่เลื่อย
–ัว/ua/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย)นัวเข้มข้น (มีเนื้อมาก)
–ว–/ua/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย)ผิวปาก
  • ในกรณีที่รูปสระสั้นมีวิสรรชนีย์ประกอบ เช่น คล
    เมื่อมีพยัญชนะท้าย (นอกเหนือจาก /ʔ/)
    ให้เปลี่ยนวิสรรชนีย์เป็นไม้ไต่คู้ เช่น แช็
ลักษณะน้ำเสียง
อักษรไทยลักษณะ
น้ำเสียง
ตัวอย่างคำความหมาย
ไม่มีรูปปกติชุรหมา
ฮนีʔหนู
กะเตาแด็รร้อนจัด
–่ต่ำชุร่แมลง
เคล็อฺง่มาก
กะเทอะ่ข้นคลั่ก
  • เครื่องหมายแสดงลักษณะน้ำเสียงต่ำ
    จะปรากฏเหนือรูปพยัญชนะหรือรูปสระท้ายพยางค์